ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 61:
=== วันเสียงปืนแตก ===
'''วันเสียงปืนแตก''' คือวันที่ [[7 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2508]] ซึ่งเป็นวันที่พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยใช้อาวุธโจมตีกองกำลังของรัฐบาลไทยเป็นครั้งแรก กองกำลังของพรรคได้เรียกตนเองว่า ''กองทัพปลดแอกประชาชนแห่งประเทศไทย (ทปท.)'' [ในขณะที่รัฐบาลเรียกว่า ''ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ (ผกค.)''] เหตุเกิดที่ บ้านนาบัว ตำบลโคกหินแฮ่ [[อำเภอเรณูนคร]] [[จังหวัดนครพนม]] ทั้งนี้ได้ประกาศยุทธศาสตร์ "ต่อสู้ด้วยกำลังอาวุธ ใช้ชนบทล้อมเมือง และยึดเมือง" หลังจากวันเสียงปืนแตก พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยก็ต่อสู้ด้วยอาวุธกับกองกำลังของรัฐบาลไทยมาตลอด และในยุค "แสวงหา" บรรดานักเรียนนักศึกษาประชาชนเข้าป่าเพื่อต่อสู้ร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย โดยเฉพาะหลัง[[เหตุการณ์ 6 ตุลา|เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519]] จนกระทั่งปี พ.ศ. 2523 รัฐบาลพลเอกเปรม ติณณสูลานนท์ได้ออก[[คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523|คำสั่ง 66/23]] นิรโทษกรรมแก่ฝ่ายคอมมิวนิสต์ และ{{cn-span|ปี พ.ศ. 2525 พรรคมีการเจรจากับรัฐบาลไทย เลิกต่อสู้ด้วยอาวุธ ให้มาต่อสู้กันทางรัฐสภาแทน}} {{cn-span|บรรดานักปฏิวัติหลายคนที่ผิดหวังต่อแนวทางของพรรคที่อิงจีนมากเกินไป โดยไม่อาศัยสภาพความเป็นจริงของประเทศไทย จึงยุติการต่อสู้}} หลังจากนั้นพรรคก็อ่อนกำลังลง {{cn-span|ในปัจจุบันยังคงมีพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยอยู่}} แต่ยังคงไม่มีการเคลื่อนไหวทางการเมืองใด ๆ
 
กระทั่งวันจันทร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2561 ได้มีกลุ่มบุคคลภายใต้การนำของนาย ปฐม ตันธิติ ยื่นจดทะเบียนจัดตั้งพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยต่อ [[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] แต่ได้รับการปฏิเสธไป
 
== รายนามเลขาธิการพรรค ==