ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สตีเฟน ฮอว์กิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 98:
เมื่อ ปี [[พ.ศ. 2517]] เขาได้เป็นสมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุดของราชบัณฑิตยสถานของอังกฤษ และได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์แรงโน้มถ่วง ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ในปี [[พ.ศ. 2520]] และเมื่อในปี [[พ.ศ. 2522]] ก็ได้รับการแต่งตั้งเป็น “[[เมธีคณิตศาสตร์ลูเคเชียน]]” (Lucasian Chair of Mathematics - เป็นตำแหน่งที่ตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ [[พ.ศ. 2206]] (ตรงกับรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]) บุคคลที่ 2 ที่ได้รับตำแหน่งนี้ก็คือ เซอร์[[ไอแซก นิวตัน]] คนทั่วไปจึงเปรียบเทียบสตีเฟน ฮอว์กิง กับนิวตันและไอนสไตน์)
 
สตีเฟน ฮอว์กิงคิดว่ามีความเป็นไปได้ที่นักฟิสิกส์จะพัฒนาทฤษฎีที่จะรวมเอาแรงทั้ง 4 ของธรรมชาติเข้าด้วยกัน นั่นคือ [[แรงโน้มถ่วง]], [[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]], [[แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน]] และ[[แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม]] อันจะนำไปสู่ '''[[ทฤษฎีสรรพสิ่ง]]''' (Theory of Everything) ที่เคยกล่าวกันมา ส่วนเรื่องการขยายตัวของ[[เอกภพ]]นั้น ฮอว์กิงเชื่อว่าฮอว์กิงคิดว่า เอกภพขยายตัวออกไปโดยมีความเร่ง
 
== ชีวิตส่วนตัว ==