ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐโลกวิสัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''รัฐโลกวิสัย''' หรือ '''รัฐฆราวาส''' ({{lang-en|secular state}}) เป็นแนวคิดสืบเนื่องมาจากหลัก[[ฆราวาสนิยม]] (secularism) ที่ให้รัฐมีหรือแสดงความเป็นกลางในประเด็นทางศาสนา โดยไม่สนับสนุนทั้ง[[ศาสนา]]และ[[การไม่มีศาสนา]]<ref>Madeley, John T. S. and Zsolt Enyedi, [https://books.google.com/books?id=n5Brda6FmswC&dq Church and state in contemporary Europe: the chimera of neutrality], p. 14, 2003 Routledge</ref> รัฐฆราวาสยังพึงปฏิบัติกับพลเมืองทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าเขาเหล่านั้นถือศาสนาใด ในการนี้ รัฐพึงเลี่ยงการให้ความสำคัญแก่พลเมืองเพราะถือหรือไม่ถือศาสนาใด รัฐฆราวาสไม่พึงมี[[ศาสนาประจำรัฐ]] ถึงแม้ว่าการไม่มีศาสนาประจำรัฐจะไม่ได้หมายความว่ารัฐนั้นเป็นฆราวาสเต็มตัวก็ตาม อย่างไรก็ดี รัฐที่เป็นฆราวาสอย่างแท้จริงนั้นพึงดำเนินการปกครองบ้านเมืองโดยปราศจากอิทธิพลจากศาสนา และพึงให้องค์การศาสนาปกครองตนเองโดยปราศจากอิทธิพลของรัฐ ตามหลัก[[การแยกศาสนจักรกับอาณาจักร]]<ref>{{cite web|url=http://www.allabouthistory.org/separation-of-church-and-state.htm|title=Separation Of Church And State|publisher=}}</ref>
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''รัฐโลกวิสัย''' หรือ '''รัฐฆราวาส''' ({{lang-en|secular state}}) คือ[[รัฐ]]หรือ[[ประเทศ]]ที่เป็นกลางทางด้านศาสนา ไม่สนับสนุนหรือต่อต้านความเชื่อหรือการปฏิบัติทางศาสนาใด ๆ รัฐโลกวิสัยจะปฏิบัติต่อประชาชนอย่างเท่าเทียมไม่ว่าจะนับถือศาสนาใด ส่วนใหญ่จะไม่มีศาสนาประจำชาติ หรือหากมีศาสนาประจำชาติ ศาสนานั้นก็จะมีความหมายทางสัญลักษณ์และไม่มีผลกระทบต่อชีวิตประจำวันของประชาชน เช่น ในประเทศอินเดีย ที่สนับสนุนรัฐฆราวาส มีความเป็นเสรีภาพในการนับถือศาสนา ในความเชื่อโดยเสรี โดยที่รัฐบาลไม่ไปมีบทบาทมากนัก
 
==ความเป็นมา==
ประเทศไทยไม่มีศาสนาประจำชาติ ทุกศาสนาจึงมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกันตามกฎหมาย
 
รัฐฆราวาสเกิดขึ้นเมื่อมีการสถาปนารัฐ เช่น กรณี[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]] หรือมี[[การทำให้เป็นฆราวาส|การสร้างความเป็นฆราวาส]]ให้แก่รัฐ เช่น กรณีของ[[ฝรั่งเศส]]และ[[เนปาล]] ในทางประวัติศาสตร์แล้ว การทำให้รัฐกลายเป็นฆราวาสนั้นมักเกี่ยวข้องกับการให้เสรีภาพทางศาสนา เลิกศาสนาประจำรัฐ เลิกสนับสนุนทางการเงินแก่ศาสนา สร้างระบบกฎหมายและการศึกษาที่ปราศจากอิทธิพลของศาสนา ยอมให้พลเมืองเปลี่ยนหรือเลิกนับถือศาสนา และยอมให้มีผู้นำที่มาจากความเชื่อใดก็ได้<ref>Jean Baubérot [http://www.ambafrance-us.org/atoz/secular.asp The secular principle] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080222013645/http://www.ambafrance-us.org/atoz/secular.asp |date=February 22, 2008 }}</ref>
[[หมวดหมู่:ศาสนา]]
 
ในทางปฏิบัติ ไม่ใช่ทุกรัฐที่เป็นฆราวาสในทางกฎหมายจะมีความเป็นฆราวาสโดยสิ้นเชิง ยกตัวอย่างในฝรั่งเศสและสเปนที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้เป็นรัฐฆราวาส แต่ก็ยังถือวันหยุดทางศาสนาคริสต์เป็นวันหยุดราชการอยู่ ทั้งรัฐก็ยังให้ค่าตอบแทนแก่ครูบาอาจารย์ใน[[โรงเรียนแคทอลิก]]<ref>Richard Teese, [https://www.jstor.org/stable/1188531 Private Schools in France: Evolution of a System], ''[[Comparative Education Review]]'', Vol. 30, No. 2 (May, 1986), pp. 247-259 {{en icon}}</ref>
 
{{ต้องการ==อ้างอิง}}==
{{reflist}}
 
[[หมวดหมู่:กฎหมายรัฐธรรมนูญ]]
[[หมวดหมู่:ฆราวาสนิยม]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาและการเมือง]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาและการปกครอง]]