ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาวิไชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2ndoct (คุย | ส่วนร่วม)
improve article
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
2ndoct (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 25:
|
}}
'''เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ''' ({{lang-gr|Κωνσταντίνος Γεράκης}}<ref>These are the Greek and Italian spelling forms of his name and family name as found in local archives of Cephalonia. Cangelaris 2011, pp.66-68</ref>, ''กอนสตันตีโนส เยราจิส''; {{lang-en|Constantine Phaulkon}}) เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผู้กลายมาเป็น[[สมุหนายก]]ในรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref>[http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/317794/it-all-started-back-when-bangkok-was-just-a-french-fort When Bangkok was just a French fort]</ref>และได้รับนามว่าเจ้าพระยาวิชเยนทร์<ref name="prince">Chakrabongse, C., 1960, Lords of Life, London: Alvin Redman Limited</ref>{{rp|59,64}}
[[ไฟล์:King_Narai.jpg|thumb|เอกอัครราชฑูตฝรั่งเศส Chevalier de Chaumont นำเสนอจดหมายจาก[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] แห่งฝรั่งเศสแก่พระนารายณ์ จะเห็นฟอลคอนที่มุมล่างซ้ายของภาพพิมพ์]]
 
[[ไฟล์:Lopbbvichayen0306a.jpg|thumb|[[บ้านวิชาเยนทร์]] (บ้านพักของ[[เจ้าพระยาวิชาเยนทร์]])ตั้งอยู่ในจังหวัด[[จังหวัดลพบุรี|ลพบุรี]] [[ประเทศไทย]]]]
นอกจาก[[ภาษากรีก]]ซึ่งเป็นภาษาแม่แล้ว ฟอลคอนยังสามารถพูดภาษาต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ [[ภาษาไทย]], [[ภาษาอังกฤษ]], [[ภาษาฝรั่งเศส]], [[ภาษาโปรตุเกส]] และ[[ภาษามลายู]]
'''เจ้าพระยาวิชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ''' ({{lang-gr|Κωνσταντίνος Γεράκης}}<ref>These are the Greek and Italian spelling forms of his name and family name as found in local archives of Cephalonia. Cangelaris 2011, pp.66-68</ref>, ''กอนสตันตีโนส เยราจิส''; {{lang-en|Constantine Phaulkon}}) เป็นนักผจญภัยชาวกรีก ผู้กลายมาเป็น[[สมุหนายก]]ในรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref>[http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/317794/it-all-started-back-when-bangkok-was-just-a-french-fort When Bangkok was just a French fort]</ref>และได้รับนามว่าเจ้าพระยาวิชเยนทร์<ref name="prince">Chakrabongse, C., 1960, Lords of Life, London: Alvin Redman Limited</ref>{{rp|59,64}}
 
== วัยเด็ก ==
ฟอลคอนเกิดที่แคว้น[[เซฟาโลเนีย]] ([[ประเทศกรีซ]]) เมื่อ [[พ.ศ. 2190]] โดยมีเชื้อสายของชาวกรีกและเวนิส ฟอลคอนเข้าทำงานให้กับบริษัทอินเดียตะวันออกของ[[อังกฤษ]]
ฟอลคอนเกิดที่ Asso ในภูมิภาค Erisso (pertinenza di Erisso) ทางตอนเหนือของแคว้น[[เซฟาโลเนีย]] (อยู้ใต้การปกครองของ[[สาธารณรัฐเวนิส]]) เมื่อ [[พ.ศ. 2190]] โดยพ่อเป็นชาวกรีกและแม่เป็นชาวเวนิส ครอบครัวเยราจิส ได้อาศัยอยู่ในหมู่บ้านพลาเกีย(Πλαγιά) ตั้งแต่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 16<ref>Cangelaris 2011, pp.67, 89-91</ref><ref>Cangelaris - Kefalonitiki Proodos No.3, pp.14-18</ref> [[พ.ศ. 2205]] ฟอลคอนออกจากบ้าน และเดินเรือสินค้าไปค้าขายยังแดนต่าง ๆ
 
[[พ.ศ. 2205]] ฟอลคอนออกจากบ้าน และเดินเรือสินค้าไปค้าขายยังแดนต่าง ๆ
 
== ชีวิตในอยุธยา ==
 
[[พ.ศ. 2218]] เดินทางมายัง[[กรุงศรีอยุธยา|อยุธยา]]ในฐานะพ่อค้าหลัง ทำงานให้กับบริษัทอินเดียตะวันออกของ[[อังกฤษ]] เนื่องจากฟอลคอนมีความสามารถพิเศษในการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศอย่างง่ายดาย ฟอลคอนจึงเรียนรู้การใช้ภาษาไทยอย่างคล่องแคล่วในเวลาไม่กี่ปีและเข้ารับราชการในราชสำนัก[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]ในตำแหน่ง[[ล่าม]] นอกจาก[[ภาษากรีก]]ซึ่งเป็นภาษาแม่แล้ว ฟอลคอนยังสามารถพูดภาษาต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ [[ภาษาไทย]] [[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] [[ภาษาโปรตุเกส]] และ[[ภาษามลายู]] นับเป็นชาวตะวันตกคนแรกที่เข้ามารับราชการในสมัย[[อยุธยา]] เป็นตัวกลางการค้าระหว่างอยุธยากับฝรั่งเศส ฟอลคอนได้กลายมาเป็น[[สมุหเสนา]]ใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]แห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]]ในเวลาอันรวดเร็ว<ref>http://www.cosmicelk.net/eclipsesinSiam.pdf</ref>
 
[[พ.ศ. 2225]] ฟอลคอนเปลี่ยนศาสนาจาก[[แองกลิคัน|นิกายแองกลิคัน]]เป็น[[โรมันคาทอลิก|คริสตจักรโรมันคาทอลิก]]<ref name="Damrong">Rajanubhab, D., 2001, Our Wars With the Burmese, Bangkok: White Lotus Co. Ltd., {{ISBN|9747534584}}</ref>{{rp|254–265}}และแต่งงานกับดอญา มารี กีมาร์ ([[ท้าวทองกีบม้า]]) สาวลูกผสมญี่ปุ่น โปรตุเกลและเบงกอลผู้นับถือคาทอลิก<ref>Smithies 2002, p.100</ref><ref>Smithies, p.183</ref>ซึ่งภายหลัง เป็นผู้ประดิษฐ์ขนมไทยหลายอย่าง พวกเขาอาศัยอยู่ในชีวิตที่ร่ำรวยเนื่องจาก ฟอลคอน มีอิทธิพลอย่างมากต่อพระนารายณ์ของสยาม หลังแต่งงานของพวกเขามีลูกชายด้วยกันสองคน João และ Jorge คนแรกเสียชีวิตก่อนฟอลคอน<ref>Cangelaris 2011, p.91</ref>
 
หลังจากมีปัญหากับราชอาณาจักรอังกฤษและสาธารณรัฐดัตช์ ด้ออกแบบการสร้างสายสัมพันธ์ระหว่างฝรั่งเศสกับสยามเพื่อนำไปสู่การแลกเปลี่ยนสถานทูตระหว่างฝรั่งเศสและสยามรวมทั้งการจัดส่งกองกำลังของฝรั่งเศสในปีพ. ศ. 2230 [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 14]] ได้มอบตำแหน่งอัศวินระดับ Order of Saint Michael และสัญชาติฝรั่งเศสให้เขาและครอบครัว<ref>Cangelaris - Kefalonitiki Proodos No.7, pp.36-38</ref>
 
ความใกล้ชิดระหว่างเจ้าพระยาวิชเยนทร์และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทำให้เกิดความริษยาขึ้นในหมู่ราชนิกุล ซึ่งส่งให้เกิดผลเสียต่อตัวเจ้าพระยาวิชเยนทร์เองในเวลาต่อมา เมื่อสมเด็จพระนารายณ์ทรงพระประชวรหนักใกล้สวรรคต ก็มีข่าวลือว่าเจ้าพระยาวิชเยนทร์ต้องการใช้องค์รัชทายาทเป็นหุ่นเชิดและเข้ามาเป็นผู้ปกครอง[[กรุงศรีอยุธยา]]เสียเอง ซึ่งแม้เหตุดังกล่าวจะมีความเป็นไปได้น้อย แต่ก็เป็นข้ออ้างให้[[สมเด็จพระเพทราชา|พระเพทราชา]]ซึ่งเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ที่ไม่พอใจกับนโยบายด้านต่างประเทศที่ส่งผลให้มีชาวต่างชาติมาอยู่ในกรุงศรีอยุธยามากมาย วางแผนให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จไปประทับที่[[พระนารายณ์ราชนิเวศน์]]ใน[[ลพบุรี]] และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชก็ได้ไว้ใจมอบอำนาจการสำเร็จราชการแผ่นดินให้พระเพทราชาใน [[พ.ศ. 2231]]
บรรทัด 44:
== บั้นปลายชีวิต ==
พระเพทราชา เมื่อกุมอำนาจการสำเร็จราชการแผ่นดินแล้ว ก็จับกุมเจ้าพระยาวิชเยนทร์และผู้ติดตามรวมถึงราชนิกุลองค์ต่าง ๆ และนำไปประหารชีวิตในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2231 ในวัยเพียง 40 ปี เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงทราบถึงเหตุดังกล่าว พระองค์ทรงกริ้วมาก แต่ไม่มีพระวรกายแข็งแรงเพียงพอที่จะทำการใด ๆ และเสด็จสวรรคตในอีกไม่กี่วันต่อมา บรรดาขุนนางได้อัญเชิญ พระเพทราชา ขึ้นครองราชย์โดยการ[[ปราบดาภิเษก]] ทรงพระนามว่า '''สมเด็จพระมหาบุรุษวิสุทธิเดชอุดม''' หรือ '''สมเด็จพระเพทราชา''' และปกครองโดยมีนโยบายต่อต้านชาวต่างชาติ ส่งผลให้เกิดการขับไล่ชาวต่างชาติแทบทั้งหมดออกจากราชอาณาจักร[[กรุงศรีอยุธยา]] การตีความกันไปต่าง ๆ นานาถึงเหตุจูงใจที่ทำให้สมเด็จพระเพทราชาสั่งจับกุมและประหารชีวิตเจ้าพระยาวิชเยนทร์เป็นผลให้จุดยืนของกรีกในประวัติศาสตร์ไทยเป็นเรื่องที่ยังหาข้อสรุปมิได้ นักประวัติศาสตร์ที่เห็นด้วยกับการกระทำของพระองค์มองเจ้าพระยาวิชเยนทร์ว่าเป็นชาวต่างชาติที่ฉวยโอกาสมาใช้อิทธิพลเข้าควบคุมราชอาณาจักรในนามของผลประโยชน์จากชาติตะวันตก แต่นักประวัติศาสตร์อีกกลุ่มหนึ่งมองว่าเจ้าพระยาวิชเยนทร์เป็นแพะรับบาป เป็นช่องว่างให้สมเด็จพระเพทราชาสามารถเข้ายึดอำนาจจากองค์รัชทายาทได้โดยนำเอาความริษยาและความระแวงที่มีต่อเจ้าพระยาวิชเยนทร์มาเป็นมูลเหตุสนับสนุน
 
== หมายเหตุ ==
{{Reflist}}
 
== อ้างอิง ==
* Smithies, Michael (2002), ''Three military accounts of the 1688 "Revolution" in Siam'', Itineria Asiatica, Orchid Press, Bangkok, {{ISBN|974-524-005-2}} 9745240052
* [http://www.cangelaris.com/bigok.html Cangelaris, P.D. (2011), ''History and Genealogy of the Cangelari Family of Cephalonia (16th-20th Centuries) '', Corfu 2011], (in Greek), {{ISBN| 978-960-85532-2-4}}
* Cangelaris - Kefalonitiki Proodos No.3: Παναγιώτης Δ. Καγκελάρης, "Κωσταντής Γεράκης (Constance Phaulkon) - Μια νέα γενεαλογική προσέγγιση", from: Η Κεφαλονίτικη Πρόοδος, Περίοδος Β', τεύχος 3 (Ιούλιος-Σεπτέμβριος 2012) (in Greek)
* Cangelaris - Kefalonitiki Proodos No.7: Παναγιώτης Δ. Καγκελάρης, "Το γαλλικό οικόσημο του πρωτοσύμβουλου Κωσταντή Γεράκη (Constance Phaulkon)", from: Η Κεφαλονίτικη Πρόοδος, Περίοδος Β', τεύχος 7 (Ιούλιος-Σεπτέμβριος 2013) (in Greek)
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons categoryคอมมอนส์-หมวดหมู่|Constantine Phaulkon}}
* [httpshttp://web.archive.org/web20060102220224/20100126035330/http://marabu1marabu1.tripod.com/SIAM.HTM George A. Sioris, ''Phaulkon - The Greek First Counsellor at the Court of Siam: An Appraisal'', Bangkok 1988], {{ISBN| 974-8298-41-8.]{{ลิงก์เสีย|date=มิถุนายน 2554}}.
* [https://web.archive.org/web/20090214001156/http://www.memoires-de-siam.com/personnages_phaulkon.html Memoires de Siam - Les personnages - Phaulkon, Monsieur Constance]{{ลิงก์เสีย|date=มิถุนายน 2554}} (in French)
* [http://www.cangelaris.com/geraki.html Panayotis D. Cangelaris: "Costantin Gerachi (Constance Phaulkon) - A new genealogical approach"] (reprint in Greek)
 
* [http://www.cangelaris.com/phaulkon.html Panayotis D. Cangelaris: "The French coat of arms of prime counsellor Costantin Gerachi (Constance Phaulkon)"] (reprint in Greek)
{{เรียงลำดับ|วิชาเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน)}}
{{Authority control}}
{{เกิดปี|2190}}
{{ตายปี|2231}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2190]]
เส้น 69 ⟶ 67:
[[หมวดหมู่:ชาวไทยที่ถูกประหารชีวิต]]
[[หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยราชวงศ์ปราสาททอง]]
{{โครงชีวประวัติ}}