ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศไทยจากหลายสถาบันจัดอันดับ ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย คุณภาพด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยในเขตเมือง และคุณภาพแยกตามรายวิชาอีก 27 รายวิชา<ref>ขติยา, วรวิทย์, สุพัด, and ปริศนา. "จุฬาฯ ครองอันดับ 1 มหา'ลัยไทยติดต่อกันเป็นปีที่ 7 จากการจัดอันดับ QS." มติชนออนไลน์. March 21, 2017. Accessed March 22, 2017. http://www.matichon.co.th/news/503359.</ref><ref name=":18">ShanghaiRanking Consultancy. "Academic Ranking of World Universities 2017." World University Rankings - 2017 | Thailand Universities in Top 500 universities | . Accessed August 26, 2017. http://shanghairanking.com/World-University-Rankings-2017/Thailand.html.</ref>
 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 [[มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ]] จาก [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ในปี พ.ศ. 2552 และได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาในระดับดีมากจากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เป็นสมาชิก[[เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน]] (AUN)<ref>สมาชิกเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน, ไซต์อย่างเป็นทางการของเครื่อข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน, [http://www.aunsec.org/aunmemberuniversities.php AUN Member], เข้าถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559</ref> และเป็นมหาวิทยาลัยเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่เป็นสมาชิกของ[[สมาคมมหาวิทยาลัยภาคพื้นแปซิฟิก]] (APRU)<ref>Chulalongkorn University, APRU, [https://apru.org/members/member-universities/item/330-chulalongkorn-university Member University] , เข้าถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559</ref><ref>"[http://apru.org/members/member-universities/itemlist/category/234-thailand Chulalongkorn University]". ''Association of Pacific Rim Universities''. 2013-01-10. Retrieved 2016-12-10.</ref> ในส่วนของ[[การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การรับบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา]]นั้นพบว่า ผู้สมัครสอบที่ทำคะแนนรวมสูงสุดในแต่ละปีส่วนใหญ่เลือกเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>ดูที่
* http://www.cuas.or.th/document/58D_stat_rpass_web58D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>
* http://www.cuas.or.th/document/57D_stat_rpass_web57D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>
* http://www.cuas.or.th/document/56D_stat_rpass_web56D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>
* http://www.cuas.or.th/document/55D_stat_rpass_web55D_stat_rpass_web.pdf</ref><ref>
* กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/consort2555_ann14_25550217.pdf (18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>
* กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/cotmes60_p8_25600314u.pdf (18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>
* กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/consort2557_ann12_25570314.pdf<nowiki/>(18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>
* กลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย. “สถิติคะแนนสอบ กสพท.” ''เว็บไซต์ กสพท.'' http://www9.si.mahidol.ac.th/pdf/consort2556_ann08_25560211.pdf<nowiki/>(18 มีนาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref><ref>
* คมชัดลึก. ""เด็กเก่ง" คะแนนสูงสุด แอดมิชชั่นปี 60." www.komchadluek.net. June 15, 2017. Accessed June 15, 2017. http://www.komchadluek.net/news/edu-health/282588.</ref>
 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกที่ใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้เข้าศึกษาในสังกัดของสถาบัน เพราะเมื่อแรกก่อตั้ง ที่ตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถือว่าอยู่ไกลจาก[[เขตพระนคร]]ซึ่งเป็นศูนย์กลางความเจริญในขณะนั้น จึงมีการสร้างหอพักเพื่อให้ผู้เข้าศึกษาสามารถพักอาศัยในบริเวณมหาวิทยาลัยและใช้คำว่า "นิสิต" ใน[[ภาษาบาลี]]ที่แปลว่า "ผู้อยู่อาศัย" เรียกผู้เข้าศึกษา ด้วยมีลักษณะเช่นเดียวกับการไปฝากตัวเป็นศิษย์และอยู่อาศัยกับสำนักอาจารย์ต่าง ๆ ของนักเรียนในระบบการศึกษาแบบโบราณ เช่น การฝากตัวเป็นศิษย์ที่[[คณะนักบวชคาทอลิก|สำนัก]]ของ[[บาทหลวง]]หรือวิทยาลัยแบบอาศัยของมหาวิทยาลัยใน[[ทวีปยุโรป|ยุโรป]] ส่วนในประเทศไทย นักเรียนจะไปฝากตัวที่[[วัด]]เป็นศิษย์ของ[[พระสงฆ์|พระ]]และอาศัยวัดเป็นสถานที่ศึกษา ด้วยเหตุนี้ [[มหาวิทยาลัย]]ใน[[ประเทศอังกฤษ]]จึงใช้คำว่า "Matriculated Student"<ref>"[https://www.ox.ac.uk/students/new/matriculation?wssl=1 Matriculation | University of Oxford]". ''[http://www.ox.ac.uk www.ox.ac.uk]''. Retrieved 2016-12-10.</ref> ที่แปลว่า "นักศึกษาที่ได้รับเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยแล้ว" เรียกผู้เข้าศึกษา เช่นเดียวกับคำว่า "นิสิต"<ref>[http://www.rcu.sa.chula.ac.th/dormitory/index.php?page=history2.php#anch1 ประวัติความเป็นมาของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]</ref> ทั้งนี้ ในอดีต โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือนใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้จบการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลายและเรียนเพื่อสอบวิชาเป็นบัณฑิต<ref>[http://www.memohall.chula.ac.th/article/๑๑๒-ปีพระราชทานกำเนิดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย/ บทความ ๑๑๒ ปีพระราชทานกำเนิดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558]</ref> แม้ว่าในปัจจุบันการคมนาคมจะสะดวกขึ้นอย่างมาก [[เขตปทุมวัน]]ซึ่งเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเปลี่ยนแปลงไปเป็นย่านธุรกิจการค้าใจกลาง[[กรุงเทพมหานคร]] นิสิตไม่มีความจำเป็นต้องพักในหอพักนิสิตทุกคนอีกต่อไป แต่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยยังคงใช้คำว่า "นิสิต" เรียกผู้เข้าศึกษา เพื่อรำลึกถึงความเป็นมาของสถาบันเช่นเดิม<ref>matichon tv (2017-07-01), ''[https://www.youtube.com/watch?v=5uIdxeitZAI ร้อยเรื่องราว 100ปี จุฬาฯ ชีวิตชาวหอ ที่มาของคำว่านิสิต]'', retrieved 2017-10-12</ref>