ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Payajam (คุย | ส่วนร่วม)
อ้างอิง รัชกาลที่ ๖ มีพระราชดำรัสตอบว่า "แต่ในรัชสมัยพระองค์(ร.๕) ยังมีเหตุติดขัด" หมายถึงติดขัดทำให้ไม่สามารถสร้างมหาวิทยาลัยได้ จึงตีความได้ว่าไม่มี "มหาวิทยาลัย" ที่เกิดในรัชสมัย ร.๕ และไม่มีมหาวิทยาลัยอื่นในสยามที่มีคุณสมบัติเทียบเท่าสถานศึกษาระดับมหาวิทยาลัยสถาปนาขึ้นก่อนจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
|twitter={{URL|https://twitter.com/ChulalongkornU|@ChulalongkornU}}
}}
'''จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย''' เป็น[[มหาวิทยาลัย]]และ[[สถาบันอุดมศึกษา]]แห่งแรกของ[[ประเทศไทย]]<ref>"กำเนิดอุดมศึกษาไทย." กำเนิดอุดมศึกษาไทย - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. Accessed March 05, 2018. http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=38&chap=3&page=t38-3-infodetail02.html.</ref><ref>มหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย." มหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ. Accessed March 05, 2018. http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=38&chap=3&page=t38-3-infodetail03.html.</ref><ref>University, C. (2017). หลักเฉลิมแห่งพระนคร – CU100. [online] CU100. Available at: http://www.cu100.chula.ac.th/story/หลักเฉลิมแห่งพระนคร/ [Accessed 21 Feb. 2018].</ref><ref>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประวัติจุฬาฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 26 มีนาคม 2550. http://www.chula.ac.th/about/history (7 กรกฎาคม 2559 ที่เข้าถึง).</ref><ref name=":11">ราชกิจจานุเบกษา. “พระบรมราโชวาท ในการพระราชทานประกาศนียบัตรแก่เวชบัณฑิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๗๓.” ''เว็บไซต์ Ratchakitcha.'' 25 ตุลาคม 2473. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2473/D/2803.PDF (1 พฤษภาคม 2560 ที่เข้าถึง)</ref><ref name=":20">ราชกิจจานุเบกษา. “พระราชดำรัสตอบ ในวันพระราชพิธีก่อพระฤกษ์โรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๓ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๕๘.” ''ratchakitcha.soc.go.th.'' 23 มกราคม 2458. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/2573.PDF (15 มีนาคม 2561 ที่เข้าถึง).</ref> ตั้งอยู่ใน[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]]<ref name=":15">ราชกิจจานุเบกษา. “ พระราชบัญญัติโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินอันเป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตำบลปทุมวัน อำเภอปทุมวัน จังหวัดพระนคร ให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๔๘๒: Ratchakitcha .” ''เว็บไซต์ Ratchakitcha.'' 20 ตุลาคม 2482. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2482/A/1364.PDF (2 พฤษภาคม 2560 ที่เข้าถึง).</ref> ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน" ที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]] เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2442 พร้อมทั้งพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญ "[[พระเกี้ยว]]" มาเป็นเครื่องหมายประจำโรงเรียน<ref>ราชกิจจานุเบกษา. “พระราชกำหนดเข็มโรงเรียนข้าราชการพลเรือน.” ''เว็บไซต์ ratchakitcha.'' 17 พฤษภาคม 2457. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2457/A/129.PDF (21 เมษายน 2560 ที่เข้าถึง).</ref> การดำเนินงานของโรงเรียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเป็นลำดับ จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ([[ปฏิทินสุริยคติไทย|นับแบบเก่า]]) [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้ทรงประดิษฐานขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย และพระราชทานนามว่า "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" เพื่อเป็นพระบรมราชานุสาวรีย์เฉลิมพระเกียรติแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว<ref name=":20">ราชกิจจานุเบกษา. “พระราชดำรัสตอบ ในวันพระราชพิธีก่อพระฤกษ์โรงเรียนข้าราชการพลเรือน ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๓ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๕๘.” ''ratchakitcha.soc.go.th.'' 23 มกราคม 2458. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/D/2573.PDF (15 มีนาคม 2561 ที่เข้าถึง).</ref> สมเด็จพระบรมชนกนาถของพระองค์<ref>เว็บไชต์ราชกิจจานุเบกษา,[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/20.PDF ประกาศ เรื่อง ประดิษฐานโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและโอนไปขึ้นอยู่ในกระทรวงธรรมการ] . เข้าถึงวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2559</ref> นับตั้งแต่ พ.ศ. 2460 ถึงปัจจุบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีผู้บัญชาการและ[[อธิการบดี]]มาแล้ว 17 คน อธิการบดีคนปัจจุบัน คือ ศาสตราจารย์ ดร.[[บัณฑิต เอื้ออาภรณ์]]<ref name=":12" />
 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ของประเทศไทยจากหลายสถาบันจัดอันดับ ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย ชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย คุณภาพด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยในเขตเมือง และคุณภาพแยกตามรายวิชาอีก 27 รายวิชา<ref name=":2" /><ref name=":3" /><ref name=":4" /><ref name=":5" /><ref name=":6" /><ref name=":7" /><ref name=":8" /><ref>ขติยา, วรวิทย์, สุพัด, and ปริศนา. "จุฬาฯ ครองอันดับ 1 มหา'ลัยไทยติดต่อกันเป็นปีที่ 7 จากการจัดอันดับ QS." มติชนออนไลน์. March 21, 2017. Accessed March 22, 2017. http://www.matichon.co.th/news/503359.</ref><ref name=":18">ShanghaiRanking Consultancy. "Academic Ranking of World Universities 2017." World University Rankings - 2017 | Thailand Universities in Top 500 universities | . Accessed August 26, 2017. http://shanghairanking.com/World-University-Rankings-2017/Thailand.html.</ref>
บรรทัด 57:
เรามีความยินดีที่ได้เห็นการดำเนินล่วงมาได้มากแล้ว ในบัดนี้เราจะได้วางศิลาฤกษ์ด้วยความหวังที่แลเห็นความดีงามในอนาคตกาลแห่งมหาวิทยาลัยนี้ส่วนการที่ดำเนินไปได้จนเป็นรูปถึงเพียงนี้แล้ว ก็ต้องอาศัยความอุตสาหะของกรรมการผู้ได้รับมอบเป็นหน้าที่ผู้อำนวยการ ประกอบกับความอุตสาหะแห่งบรรดาผู้มีหน้าที่เป็นครู อาจารย์สั่งสอนในโรงเรียนนี้ ของกรรมการที่ได้รับมอบหน้าที่ไปจากเราให้เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนจงได้รับความขอบใจของเราแล้ว และขอให้แสดงความขอบใจของเรานี้แก่ครู อาจารย์ทั้งหลายที่พยายามทำการตามหน้าที่อย่างสามารถด้วย ขอจงมีความเจริญสิริสวัสดิ์พิพัฒน์มงคลทั่วกัน ความมุ่งหมายและกิจการซึ่งต่างก็ตั้งหน้าพยายาม เพื่อจะให้เป็นความดีความงามแก่มหาวิทยาลัยในเบื้องหน้านั้น ก็ขอให้ได้ผลสำเร็จ สมปรารถนาโดยเร็วเทอญฯ<ref>ฉลอง 94 ปี "จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" ม.แห่งแรกของไทย, [http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9540000039196]</ref>|พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว}}
 
ในระยะแรกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยอยู่เพียงระดับประกาศนียบัตรพร้อมกับเตรียมการเรียนการสอนในระดับปริญญา โดยจัดการศึกษาออกเป็น 2 วิทยาเขต คือ วิทยาเขตปทุมวันและวิทยาเขตโรงพยาบาลศิริราช จัดการเรียนการสอนออกเป็น 4 คณะ ได้แก่ [[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะรัฐประศาสนศาสตร์]] คณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>กระทรวงธรรมการ. "ประกาศกระทรวงธรรมการ เรื่อง รวมโรงเรียนราชแพทยาลัยเข้ากับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย." ราชกิจจานุเบกษา. April 15, 1917. Accessed April 7, 2017. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/21.PDF.</ref> ([[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล]] ในปัจจุบัน) [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะวิศวกรรมศาสตร์]] และ [[คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะอักษรศาสตร์]]และ[[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|วิทยาศาสตร์]] ส่วนโรงเรียนฝึกหัดครูย้ายกลับไปสังกัดกรมศึกษาธิการ กระทรวงธรรมการ และโรงเรียนกฎหมายย้ายกลับไปสังกัด[[กระทรวงยุติธรรม]]<ref>ประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2459-2509 พิมพ์เป็นที่ระลึกในวันครบห้าสิบปีของการสถาปนา วันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2510, หน้า 37</ref>[[ไฟล์:Rockefeller Foundation logo.png|thumb|right|สัญลักษณ์มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์|200x200px]]ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2465 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ ([[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]]) ทรงเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไทยในการติดต่อขอความร่วมมือจาก[[มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์]]<ref name=":11">ราชกิจจานุเบกษา. “พระบรมราโชวาท ในการพระราชทานประกาศนียบัตรแก่เวชบัณฑิตของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๕ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๗๓.” ''เว็บไซต์ Ratchakitcha.'' 25 ตุลาคม 2473. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2473/D/2803.PDF (1 พฤษภาคม 2560 ที่เข้าถึง)</ref> เพื่อปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref>William H. Becker. “Assets: Rockefellerfoundation.” ''Rockefellerfoundation.'' 2013. https://assets.rockefellerfoundation.org/app/uploads/20131001203515/Innovative-Partners.pdf (29 November 2016 ที่เข้าถึง).</ref> เป็นผลให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสามารถจัดการศึกษาในระดับปริญญาได้<ref name="วิวัฒนาการ">[http://www.memocent.chula.ac.th/article/วิวัฒนาการ/ วิวัฒนาการของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย], หอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</ref><ref>Becker, W. H. (2013). ''Innovative Partners The Rockefeller Foundation and Thailand.'' New York, New York, United States of America: The Rockefeller Foundation .</ref><ref name=":9" />
 
หลังจากนั้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ขยายการจัดการศึกษาโดยจัดตั้งคณะและแผนกอิสระเพิ่มขึ้นอีกหลายแห่ง ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ โดยการรวมโรงเรียนกฎหมาย [[กระทรวงยุติธรรม]]และแผนกวิชาข้าราชการพลเรือน (คณะรัฐประศาสนศาสตร์เดิม) เข้าไว้ด้วยกัน<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2474/D/4459.PDF แจ้งความกระทรวงธรรมการ เรื่อง การศึกษาวิชาข้าราชการพลเรือนแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย], เล่ม 48, ตอน 0 ง, 31 มกราคม พ.ศ. 2474, หน้า 4459</ref><ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2476/A/144.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ โอนโรงเรียนกฎหมายไปขึ้นแก่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย], เล่ม 50, ตอน 0 ก, 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2476, หน้า 144</ref> [[คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|แผนกอิสระเภสัชกรรมศาสตร์]] [[คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|แผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์]] [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|แผนกอิสระสถาปัตยกรรมศาสตร์]] และ[[คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|แผนกอิสระทันตแพทยศาสตร์]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2478/A/82.PDF พระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2477], เล่ม 52, ตอน 0 ก, 21 เมษายน พ.ศ. 2478, หน้า 82</ref> นอกจากนี้ ยังเริ่มเน้นการเรียนการสอนอันเป็นพื้นฐานของวิชาชีพในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจัดตั้งโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัย คือ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ([[โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]ในปัจจุบัน)