ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทลายคุกบัสตีย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
U501Flash (คุย | ส่วนร่วม)
U501Flash (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 35:
== ความขัดแย้งลุกลาม ==
[[ไฟล์:La Bastille 20060809.jpg|thumb|270px|right|ป้อม[[บัสตีย์]]แห่งปารีสช่วงก่อนการปฏิวัติฝรั่งเศส]]
กองกำลังราชองค์รักษ์ราชองครักษ์ตั้งหลักอย่างถาวรอยู่ในกรุงปารีส โดยมีท่าทีที่เป็นมิตรและเข้ากับฝ่ายประชาชนชาวปารีส ซึ่งในช่วงต้นของเหตุความไม่สงบที่เริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม กองกำลังนี้ยังคงประจำการอยู่ ณ ค่ายทหารของตน ในขณะที่ตามท้องถนนของกรุงปารีสเต็มไปด้วยความวุ่นวายจนแทบจะเป็นเรื่องปกติ ด้านชาลส์ เออแฌน เจ้าชายแห่งล็องเบสก์ (จอมพลผู้ประจำการ ณ ค่ายทหารดังกล่าว และผู้บังคับบัญชากองทหารม้าหลวงรัวยาล-อัลเลอม็องด์) ไม่ไว้ใจว่านายทหารในกองนี้จะเชื่อฟังคำบังคับบัญชา จึงตัดสินใจโยกพลทหารม้าจำนวนหกสิบนายไปประจำอยู่ ณ กองบัญชาการใหญ่ในถนนลาโชเซด็องแตง และนี่นับเป็นอีกครั้งหนึ่งที่ความพยามยามพยายามป้องกันเหตุความไม่สงบของผู้บังคับบัญชาลุกลามเป็นปัญหาใหญ่โต นายทหารจำนวนหนึ่งจากกองกำลังราชองค์รักษ์ราชองครักษ์พยายามเดินขบวนปลุกระดมแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ ฝ่ายฝูงชนจึงเริ่มจัดตั้งกองกำลังฝึกฝนของตนขึ้นเผื่อสถานการณ์ฉุกเฉิน ซึ่งเมื่อข่าวนี้แพร่สะพัดออกไป เหล่าผู้บังคับบัญชาในกองทัพหลวงจึงเริ่มตั้งค่ายกัน ณ สวนสาธารณะช็องเดอมาร์ส พร้อมทั้งยังรู้สึกเคลือบแคลงว่าจะสามารถไว้วางใจกองกำลังทหารรับจ้างชาวต่างชาติได้หรือไม่ โดยในเหตุการณ์นี้ [[พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปที่ 1 แห่งฝรั่งเศส|หลุยส์-ฟีลิป ดยุกดยุคแห่งออร์เลอ็อง]] (ผู้เสวยราชย์ขึ้นเป็น ''กษัตริย์ประชาชน'' ในอนาคต) ก็อยู่ร่วมเป็นสักขีพยานอยู่ด้วย โดยเขาเป็นเพียงพลทหารหนุ่มที่มีความคิดเชื่อฟังคำสั่งของผู้บังคับบัญชา นอกจากนี้เขายังแสดงทรรศนะถึงอดีตด้วยว่าพลทหารราชองครักษ์ฝรั่งเศสละทิ้งภาระหน้าที่ของตนในช่วงก่อนเหตุความไม่สงบ ปล่อยให้กองทหารถูกควบคุมโดยนายทหารชั้นประทวนมากเกินไป อย่างไรก็ตาม ด้วยภาวะความเป็นผู้นำของบารงแห่งเบซ็องวัลที่ไม่สม่ำเสมอ ส่งผลให้พระราชอำนาจในการปกครองกรุงปารีสของพระเจ้าหลุยส์เสมือนว่าถูกล้มเลิกไปชั่วคราว ในขณะที่ฝ่ายสามัญชนมีการจัดตั้ง ''กองทหารกระฎุมพี'' (bourgeois militia) ขึ้นมาควบคุมเหตุจลาจลทั่วทั้งเขตเลือกตั้งทั้งหกสิบเขตของกรุงปารีสแทน
 
== การทลายคุก ==