ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระปารวตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox deity<!--Wikipedia:WikiProject Hindu mythology-->
{{เพิ่มอ้างอิง}} <!-- บางย่อหน้าไม่มีการอ้างอิงแหล่งที่มา -->
| type = Hindu
{{กล่องข้อมูล เทวดา
| ไฟล์ภาพ image = WLA lacma Hindu Goddess Parvati Orissa.jpg
| name = ปารวตี
| คำอธิบายภาพ = เทวรูปศิลาสลัก พระแม่อุมาเทวี ที่พิพิธภัณฑ์แห่งหนึ่งในรัฐโอริสา
| caption = รูปปั้นปารวตดี คริสต์ศตวรรษที่ 12
| พระนาม = พระแม่ปารวตี<BR>พระแม่อุมาเทวี
| Devanagari = पार्वती
| เทวนาครี =
| Sanskrit_transliteration = Pārvatī
| กันนาดา =
| affiliation = [[ตรีเทวี]], [[อาทิศักติ]], [[ศักติ]], [[เทวีในศาสนาฮินดู|เทวี]], [[กาลี]], [[ทุรคา]], [[พระแม่ตริปุรสุนทรี|ตริปุรสุนทรี]], [[พระสตี|สตี]]
| สันสกฤต = पार्वती
| god_of = เทวีแห่งความอุดมสมบูรณ์ ความรัก การอุทิศตน พลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์
| ปาลี =
| abode = [[เขาไกรลาส]]
| ทมิฬ =
| consort = [[พระศิวะ|ศิวะ]]
| จำพวก = [[เทวสตรี]]
| parents = [[หิมวัต]]<br>ไมนาวติ<ref>{{cite book | url=https://books.google.lk/books?id=p6KumJp_wNgC | title=The Triumph of the Goddess: The Canonical Models and Theological Visions of the Devi-Bhagavata Purana | publisher=SUNY Press | author=C. Mackenzie Brown | year=1990}}</ref><ref name = Maina>{{cite book | url=https://books.google.lk/books?id=s3jXAAAAMAAJ | title=Śaivism Under the Imperial Cōl̲as as Revealed Through Their Monuments | author=Sita Narasimhan | year=2006 | pages=100 | isbn=9788188934324}}</ref><!-- Mēṉā or Maiṉāvati, both are in use for name of Parvati's mother among different Hindu traditions -->
| เทวฉายา = [[เทวสตรี|เทวี]]แห่ง อำนาจ วาสนา บารมี พลังอำนาจของ[[ผู้หญิง|สตรี]]
| children = [[พระคเณศ|คเณศ]] <br> [[พระขันทกุมาร|ขันทกุมาร]]<br>'''บางแห่งรวม:''' [[อโศกสุนทรี]]
| มนต์ =
| mount = เสือ[[มนสถล]] <br> สิงโต [[Dawon]] <br> โค[[อุสุภราช|นนทิ]]
| อาวุธ = [[ตรีศูล]] <BR> [[ดอกบัว]]
| mantra =
| พระชายา =
| พระสวามี = [[พระศิวะ]]
| เทวพาหนะ = [[สิงโต]] <BR>[[เสือ]]
| ดาวพระเคราะห์ =
}}
[[ไฟล์:Parvati, India, Chola dynasty, 13th century, bronze, Honolulu Academy of Arts.JPG|thumb|250px|right|[[ประติมากรรม]][[สัมฤทธิ์]]ลอยองค์ของพระแม่ปารวตี [[โจฬะ|ศิลปะโจฬะ]]ที่[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาตินิวเดลี]] [[ประเทศอินเดีย]].]]
'''พระแม่ปารวตี''' หรือ '''ปาราวตี''' ({{lang-sa|ปารฺวตี}}) หรือชื่อที่รู้จักกันโดยทั่วไป '''พระแม่อุมาเทวี''' หรือ '''เจ้าแม่อุมา''' พระชายาองค์ที่สองของ [[พระศิวะ]] โดยเป็น[[พระสตี]]<ref>"Uma." Encyclopedia Mythica from Encyclopedia Mythica Online.<http://www.pantheon.org/articles/u/uma.html></ref> พระชายาองค์แรก กลับชาติมาเกิดใหม่เป็นธิดาของ[[ท้าวหิมวัตและพระนางเมนกา]] และทรงเป็นน้อง[[พระแม่คงคา]] และทรงเป็นพี่[[พระภูมาตาเทวี]]
พระนางปาวรตีมีโอรสกับพระศิวะ สององค์ คือ [[พระคเณศ]] และ[[พระขันธกุมาร]] ซึ่งพระแม่อุมาสามรถแบ่งภาคได้อีก 2 ภาค คือ พระแม่ทุรคา พระแม่กาลี
 
'''ปารวตี''' ({{lang-sa|पार्वती}} ''Pārvatī'') หรือ '''อุมา''' ({{lang-sa|उमा}} ''Umā'') เป็นเทวดาสตรีใน[[ศาสนาฮินดู]] เป็นเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ความรัก การอุทิศตน ตลอดจนพลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์<ref>H.V. Dehejia, Parvati: Goddess of Love, Mapin, {{ISBN|978-8185822594}}</ref><ref>James Hendershot, Penance, Trafford, {{ISBN|978-1490716749}}, pp 78</ref><ref name=suchan>Suresh Chandra (1998), Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses, {{ISBN|978-8176250399}}, pp 245-246</ref> ถือกันว่า พระนางเป็นด้านอ่อนโยนและเอาใจใส่ของเทวี[[ศักติ]] พระนางยังแสดงพระองค์เป็นหลายด้าน เรียกว่า "ปาง" แต่ละปางเป็นที่รู้จักด้วยหลายชื่อหลายเรื่องราว<ref name=kar6>Keller and Ruether (2006), Encyclopedia of Women and Religion in North America, Indiana University Press, {{ISBN|978-0253346858}}, pp 663</ref> พระนาง พร้อมด้วย[[พระลักษมี]] เทวีแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรือง และ[[พระสรัสวดี]] เทวีแห่งความรู้ ประกอบกันเป็นองค์สาม (trinity) ของเทวีฮินดู เรียกว่า [[ตรีเทวี]]<ref>Frithjof Schuon (2003), Roots of the Human Condition, {{ISBN|978-0941532372}}, pp 32</ref>
== ประวัติของพระนาม ==
คำศัพท์ '''ปรรวัต''' ([[อักษรเทวนาครี|เทวนาครี]]: पर्वत, ปรฺวต) หรือ '''ปารวัต''' นั้นเป็น[[ภาษาสันสกฤต]]มีความหมายว่า ''ภูเขา'' เพราะฉะนั้นคำว่า ''ปารวตี'' จึงหมายความว่า "นารีแห่งภูเขา"
 
พระนางเป็นพระชายาของ[[พระศิวะ]] เทพเจ้าผู้ปกปักรักษาสรรพชีวิตและทำลายล้างความชั่วร้าย<ref name=edwardbalfour>Edward Balfour, {{Google books|iU0OAAAAQAAJ|Parvati|page=153}}, The Encyclopaedia of India and of Eastern and Southern Asia, pp 153</ref> พระนางเป็นพระธิดาของพระ[[หิมวัต]] เทพแห่งภูเขา กับพระนางไมนาวติ ผู้เป็นพระชายา<ref name="H.V. Dehejia, Parvati pp 11">H.V. Dehejia, Parvati: Goddess of Love, Mapin, {{ISBN|978-8185822594}}, pp 11</ref> พระนางทรงให้กำเนิด[[พระคเณศ]]กับ[[พระขันทกุมาร]] คัมภีร์[[ปุราณะ]]ยังกล่าวว่า พระนางเป็นพระพี่นางหรือน้องนางของ[[พระวิษณุ]] และของ[[แม่น้ำคงคาในศาสนาฮินดู|พระคงคา]]<ref>Edward Washburn Hopkins, {{Google books|-H0eiuvcG5IC|Epic Mythology|page=224}}, pp. 224-226</ref><ref name=wjw295>William J. Wilkins, [https://archive.org/stream/hindumythologyve00inwilk#page/294/mode/2up Uma - Parvati], Hindu Mythology - Vedic and Puranic, Thacker Spink London, pp 295</ref>
== พรรณนา ==
เวลาพระนางอยู่กับ[[พระศิวะ]]พระนางก็ถูกใช้คำพรรณนาว่ามี ๒ พระพาหุ, แต่เวลาอยู่องค์เดียวพระนางโดนใช่คำพรรณนาว่ามี ๔ พระพาหุ
{{เพิ่มอ้างอิง}}
 
พระนางกับพระสวามีทรงเป็นเทพศูนย์กลางแห่ง[[ไศวนิกาย]] หรือลัทธิซึ่งถือพระศิวะเป็นใหญ่ ศาสนาฮินดูยังเชื่อว่า พระนางทรงเป็นพลังงานและอำนาจแห่งการสร้างสรรค์ใหม่ของพระสวามี เป็นรากเหง้าของพันธะที่รัดรึงสรรพสิ่งเข้าด้วยกัน และเป็นหนทางแห่งการปลดปล่อยทางจิตวิญญาณ<ref>Ananda Coomaraswamy, Saiva Sculptures, Museum of Fine Arts Bulletin, Vol. 20, No. 118 (Apr., 1922), pp 17</ref><ref>Stella Kramrisch (1975), The Indian Great Goddess, History of Religions, Vol. 14, No. 4, pp. 261</ref>ในเทวาลัยฮินดูที่สร้างถวายพระนางและพระสวามี มักใช้[[โยนี]] (อวัยวะเพศหญิง) เป็นสัญลักษณ์แทนพระนาง<ref>Hariani Santiko, The Goddess Durgā in the East-Javanese Period, Asian Folklore Studies, Vol. 56, No. 2 (1997), pp. 209-226</ref><ref>Ananda Coomaraswamy, Saiva Sculptures, Museum of Fine Arts Bulletin, Vol. 20, No. 118 (Apr., 1922), pp 15-24</ref>
==ระเบียงภาพ ==
 
==ศัพทมูล==
<gallery>
 
คำว่า "ปารวตี" มีที่มาจาก "ปารวัต" ({{lang-sa|पर्वत}} ''Parvata'') คือ บรรพต แปลว่า ภูเขา พระนามหนึ่งของพระหิมวัต พระบิดาผู้เป็นเจ้าแห่งภูเขา<ref name=edwardbalfour/><ref name="H.V. Dehejia, Parvati pp 11"/> "ปารวตี" แปลว่า นางภูเขา<ref name=alain>Alain Daniélou (1992), Gods of Love and Ecstasy: The Traditions of Shiva and Dionysus, {{ISBN|978-0892813742}}, pp 77-80</ref>
ไฟล์:Queen_Sembiyan_Mahadevi_as_the_Goddess_Parvati_%28915582657%29.jpg
 
ในวรรณกรรมฮินดู พระนางปารวตีทรงเป็นที่รู้จักในหลายพระนาม<ref name=johnmuir>John Muir, {{Google books|wNPaeose9K4C|Original Sanskrit Texts on the Origin and History of the People of India|page=422}}, pp 422-436</ref> คัมภีร์ ''[[ลลิตาสหสรนาม]]'' (Lalita Sahasranama) บันทึกพระนามของพระนามไว้ถึงหลักพัน<ref name=kar6>Keller and Ruether (2006), Encyclopedia of Women and Religion in North America, Indiana University Press, {{ISBN|978-0253346858}}, pp 663</ref>
ไฟล์:Parvati_Majapahit_1.JPG
ไฟล์:A_murti_of_Parvati_Ganesha_in_Maheshwar_Hindu_temple_statues_idols_Madhya_Pradesh_2015.jpg|thumb|250px|
ไฟล์:The_Hindu_Goddess_Parvati_LACMA_M.72.1.14_(1_of_2).jpg|thumb|250px|
ไฟล์:MET_Standing_Parvati1.jpg|thumb|250px|
ไฟล์:Uma, Champa sculpture, Quang Nam province, 10th century AD, stone - Vietnam National Museum of Fine Arts - Hanoi, Vietnam - DSC04781.JPG|thumb|250px|
ไฟล์:Parvati_Ganesha.jpg|thumb|200px|
ไฟล์:Gauri Statue Mandsour India.jpg|200px|
ไฟล์:The Hindu Goddess Gauri LACMA M.82.226.jpg|200px|
ไฟล์:The_Hindu_Goddess_Parvati_LACMA_M.77.82_%281_of_12%29.jpg |
ไฟล์:Maa Gauri Statue at Gokarneshwor Mahadev Temple Premises, Gokarna, Kathmandu.jpg|
ไฟล์:Gauri Statue Mandsour India (2).jpg|
ไฟล์:The_Hindu_Goddess_Parvati_LACMA_M.72.1.13.jpg|200px|
 
หนึ่งในพระนามที่นิยมใช้เรียกขานพระนาง คือ "อุมา"<ref>{{cite book|title=India through the ages|last=Gopal|first=Madan|year= 1990| page= 68|editor=K.S. Gautam|publisher=Publication Division, Ministry of Information and Broadcasting, Government of India}}</ref> ในเอกสารสมัยแรก พระนามนี้เป็นของ[[พระสตี]] ชายาองค์แรกของพระศิวะซึ่งกลับชาติมาเกิดเป็นพระนางปารวตี แต่เอกกสารสมัยหลัง เช่น ''[[รามายณะ]]'' ถือว่า "อุมา" เป็นไวพจน์ของ "ปารวตี" คัมภีร์ ''[[หริวงศ์]]'' (Harivamsa) ระุบว่า พระนาม "อุมา" นี้มีที่มาจากคำอุทานของพระนางว่า "อุ มา" (u mā) แปลว่า "โอะ อย่า" (oh, don't)<ref name="Wilkins pp.240-1">Wilkins pp.240-1</ref>
</gallery>
 
{{เพิ่ม==อ้างอิง}}==
 
{{reflist}}
 
== ปางของพระแม่ปารวตี ==
ในฐานะพระชายาของพระศิวะ พระแม่อุมาเทวีมีการกล่าวถึงในการแบ่งภาครูปแบบต่างๆ ที่สำคัญ คือ
* [[พระแม่ทุรคา]]
* [[พระแม่กาลี]]
* [[พระแม่มารีอัมมัน]]
* [[พระตรีศักติ|พระแม่ตรีศักติ]]
* [[พระแม่ภวานี]]
* [[พระแม่อันปูรณา]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[เทวสตรี]]
* [[เทพเจ้าของอินเดีย]]
 
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Parvati}}
{{เทวดา}}
{{เทพและคัมภีร์ในศาสนาฮินดู}}
 
[[หมวดหมู่:เทวีในศาสนาฮินดู]]
[[หมวดหมู่:พระอุมา]]
{{โครงความเชื่อ}}