ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบรมราชานุญาต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
การพระราชทาน '''พระบรมราชานุญาต''' ({{lang-en|Royal assent}}) เป็นวิธีการที่[[พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ]]ทรงรับรองให้ประกาศใช้[[พระราชบัญญัติของรัฐสภา]]อย่างเป็นทางการ สิทธิในการไม่ทรงยอมมอบพระบรมราชานุญาตเป็นสิทธิที่ใช้กันบ่อยในอดีตแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมาก็เกือบไม่มีการใช้สิทธินี้แล้ว สิทธิยับยั้งพระบรมราชานุญาตเป็นสิทธิส่วนพระองค์ของ[[พระมหากษัตริย์]]ซึ่งเป็นสิทธิที่แปลงไปใช้ในระบบการปกครองของสหรัฐอเมริกาที่เรียกว่า[[การยับยั้ง]]ของประธานาธิบดี (Presidential veto)
 
การพระราชทาน “พระบรมราชานุญาต” บางครั้งก็เป็นการกระทำอย่างมีพิธีรีตอง ในสหราชอาณาจักรพระมหากษัตริย์อาจจะทรงแต่งตั้ง “Lords Commissioners” ให้เป็นผู้ประกาศอ่านพระบรมราชานุมัติในพิธีที่ทำที่[[พระราชวังเวสต์มินสเตอร์]] [[พระราชวังบักกิงแฮม]] หรือที่ประทับอื่น แต่การพระราชทานพระบรมราชานุญาตสำหรับ [[พระราชเอกสารสิทธิหนังสือตราตั้ง]] (Letters patent) จะเป็นพิธีที่เล็กกว่า
 
ในประเทศอื่น ๆ รวมทั้ง[[ประเทศออสเตรเลีย]]และ[[ประเทศแคนาดา]] ข้าหลวงต่างพระองค์ (Governor-General) อาจจะเป็นผู้ลงนามในร่างพระราชบัญญัติ ในแต่ละกรณีรัฐสภาก็ต้องประกาศการอนุญาต ทั้งสองวิธี “Lords Commissioners” หรือผู้แทนพระองค์ก็อาจจะอ่านประกาศการอนุญาตแก่ทั้งสองสภาของรัฐสภาร่วมกัน หรืออาจจะเป็นการประกาศที่แยกกันในกรณีนั้นผู้อ่านประกาศการอนุญาตก็คือประธานสภา
 
ในประเทศอื่น ๆ รวมทั้ง[[ประเทศออสเตรเลีย]]และ[[ประเทศแคนาดา]] ข้าหลวงต่างพระองค์ (Governor-General) [[ผู้สำเร็จราชการ]]อาจจะเป็นผู้ลงนามในร่างพระราชบัญญัติ ในแต่ละกรณีรัฐสภาก็ต้องประกาศการอนุญาต ทั้งสองวิธี “Lords Commissioners” หรือผู้แทนพระองค์ก็อาจจะอ่านประกาศการอนุญาตแก่ทั้งสองสภาของรัฐสภาร่วมกัน หรืออาจจะเป็นการประกาศที่แยกกันในกรณีนั้นผู้อ่านประกาศการอนุญาตก็คือประธานสภา
 
== อ้างอิง ==
เส้น 14 ⟶ 13:
== ดูเพิ่ม ==
* [[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]
 
 
[[หมวดหมู่:บทบัญญัติของอังกฤษ]]