ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัทอักษรสากล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Update new file (เก่ามาก ๆ) :D
สมพร.ล
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''สัทอักษรสากล''' ({{lang-en|International Phonetic Alphabet: IPA}}) คือ[[สัทอักษร]]ชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยเกิดพศ2519[[สมาคมสัทศาสตร์สากล]] โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา [[นักภาษาศาสตร์]]ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทน[[หน่วยเสียง]]ต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจาก[[อักษรละติน|อักษรโรมัน]] สัญลักษณ์บางตัวนำมาจาก[[อักษรกรีก]] และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ [[ภาษาไทย]]
{{เว็บย่อ|IPA}}
{{ความหมายอื่น|ดูที่=IPA (แก้ความกำกวม)}}
 
== ป ==
[[ไฟล์:The International Phonetic Alphabet (revised to 2015).pdf|thumb|right|300px|ตารางสัทอักษรสากลรุ่น ค.ศ. 2015]]
 
'''สัทอักษรสากล''' ({{lang-en|International Phonetic Alphabet: IPA}}) คือ[[สัทอักษร]]ชุดหนึ่งที่พัฒนาโดย[[สมาคมสัทศาสตร์สากล]] โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสำหรับการแทนเสียงพูดในทุกภาษา [[นักภาษาศาสตร์]]ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทน[[หน่วยเสียง]]ต่าง ๆ ที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ำกัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นำมาจากหรือดัดแปลงจาก[[อักษรละติน|อักษรโรมัน]] สัญลักษณ์บางตัวนำมาจาก[[อักษรกรีก]] และบางตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สำหรับ ตารางสัทอักษรในภาษาไทย ดูได้ที่ [[ภาษาไทย]]
 
== ประวัติ ==
 
สัทอักษรสากลเมื่อเริ่มแรกพัฒนาขึ้นโดยคณะของครูสอน[[ภาษาอังกฤษ]]และ[[ภาษาฝรั่งเศส]] ซึ่งนำโดย [[พอล แพสซี]] พร้อม ๆ กับการก่อตั้ง[[สมาคมสัทศาสตร์สากล]]ขึ้นใน[[กรุงปารีส]]เมื่อ ค.ศ. 1886 (ทั้งสมาคมและสัทอักษรสากลใช้คำย่อในภาษาอังกฤษว่า IPA เหมือนกัน) สัทอักษรสากลรุ่นแรกอย่างเป็นทางการได้รับการตีพิมพ์ใน Passy (1888) โดยคณะผู้พัฒนาใช้อักษรโรมิก (Romic alphabet) ของ [[เฮนรี สวีต]] (Sweet 1880-1881, 1971) เป็นพื้นฐาน ซึ่งอักษรโรมิกนั้นก็นำรูปแบบมาจากอักษรฟอนอไทปิก (Phonotypic Alphabet) ของ [[ไอแซก พิตแมน]] และ [[แอลิกแซนเดอร์ จอห์น เอลลิส]] อีกทีหนึ่ง (Kelly 1981)