ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศลิทัวเนีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 67:
 
'''ลิทัวเนีย''' ({{lang-en|Lithuania}}; {{lang-lt|Lietuva}} {{ipa|[lʲɪɛtʊˈvɐ]}} ''เลฺยียทุวะ'') หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ '''สาธารณรัฐลิทัวเนีย''' ({{lang-en|Republic of Lithuania}}; {{lang-lt|Lietuvos Respublika}}) ตั้งอยู่กลางทวีปยุโรป ทางฝั่งตะวันออกของ[[ทะเลบอลติก]] ทิศเหนือจรด[[ประเทศลัตเวีย|ลัตเวีย]] ทิศตะวันออกและทิศใตัจรด[[ประเทศเบลารุส|เบลารุส]] และทิศตะวันตกเฉียงใต้จรด[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]]และ[[ประเทศรัสเซีย|รัสเซีย]] ([[แคว้นคาลินินกราด]]) เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศรัสเซีย
 
== ภูมิศาสตร์ ==
=== ภูมิประเทศ ===
มีพื้นที่ 65,300 ตารางกิโลเมตร ใหญ่ที่สุดในจำนวน 3 ประเทศแถบบอลติก (เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสนและเนินทราย ลิทัวเนียเป็นแหล่งอำพัน (Amber) ที่สำคัญ
 
=== ภูมิอากาศ ===
 
== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์ลิทัวเนีย}}
 
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===
{{บทความหลัก|ดัชชีลิทัวเนีย}}
 
== ยุคกลาง ==
{{บทความหลัก|ราชอาณาจักรลิทัวเนีย|แกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย}}
 
=== สมัยใหม่ ===
{{บทความหลัก|เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย}}
 
=== ศตวรรษที่ 20 และ 21 ===
{{โครง-ส่วน}}
 
== การเมืองการปกครอง ==
{{บทความหลัก|การเมืองการปกครองของประเทศลิทัวเนีย}}
=== บริหาร ===
{{บทความหลัก|รัฐบาลลิทัวเนีย}}
ระบบการเมือง มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี ภายใต้รัฐธรรมปัจจุบัน ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2535]]
 
=== นิติบัญญัติ ===
ปัจจุบันสถานภาพทางการเมืองของลิทัวเนียในสายตาของนานาชาตินั้นถือได้ว่ามีเสถียรภาพและเอื้ออำนวยต่อการค้าการลงทุน ภายหลังจากการถอนทหารรัสเซียออกจากลิทัวเนียตั้งแต่วันที่ [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2539]] กอปรกับชนกลุ่มน้อยชาวรัสเซียในลิทัวเนียไม่มีบทบาทสำคัญทางการเมือง จึงส่งผลทำให้การบริหารบ้านเมืองของรัฐบาลลิทัวเนียในเรื่องชนกลุ่มน้อยค่อนข้างเป็นไปอย่างราบรื่น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศบอลติกอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ลัตเวีย และ[[เอสโตเนีย]]
{{โครง-ส่วน}}
รัฐสภาใช้ระบบสภาเดียว (Unicamera) เรียกว่า Seimas จำนวนสมาชิกสภาทั้งหมด 141 คน (71 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง อีก 70 คน มาจากการเลือกตั้งแบบสัดส่วน) มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี พรรคการเมืองจะต้องได้รับคะแนนเสียงเกินร้อยละ 4 จากการลงคะแนนเสียงทั่วประเทศ จึงจะมีสิทธิเข้าร่วมในรัฐสภา ยกเว้นพรรคที่มาจากชนกลุ่มน้อย คณะรัฐบาลดำรงตำแหน่งเท่ากับวาระของสมาชิกรัฐสภาเว้นแต่สมาชิกคณะรัฐบาลจะลาออก หรือรัฐสภาลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลด้วยเสียงข้างมากเด็ดขาด ประธานสภาเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
 
=== ตุลาการ ===
ระบบการเมือง มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ ภายใต้รัฐธรรมปัจจุบัน ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ [[25 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2535]]
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สิทธิมนุษยชน ===
สถาบันทางการเมือง ลิทัวเนียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงมีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 5 ปี รัฐสภาใช้ระบบสภาเดียว (Unicamera) เรียกว่า Seimas จำนวนสมาชิกสภาทั้งหมด 141 คน (71 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรง อีก 70 คน มาจากการเลือกตั้งแบบสัดส่วน) มีวาระดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี พรรคการเมืองจะต้องได้รับคะแนนเสียงเกินร้อยละ 4 จากการลงคะแนนเสียงทั่วประเทศ จึงจะมีสิทธิเข้าร่วมในรัฐสภา ยกเว้นพรรคที่มาจากชนกลุ่มน้อย คณะรัฐบาลดำรงตำแหน่งเท่ากับวาระของสมาชิกรัฐสภาเว้นแต่สมาชิกคณะรัฐบาลจะลาออก หรือรัฐสภาลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาลด้วยเสียงข้างมากเด็ดขาด ประธานสภาเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สถานการณ์การเมือง ===
{{โครง-ส่วน}}
ปัจจุบันสถานภาพทางการเมืองของลิทัวเนียในสายตาของนานาชาตินั้นถือได้ว่ามีเสถียรภาพและเอื้ออำนวยต่อการค้าการลงทุน ภายหลังจากการถอนทหารรัสเซียออกจากลิทัวเนียตั้งแต่วันที่ [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2539]] กอปรกับชนกลุ่มน้อยชาวรัสเซียในลิทัวเนียไม่มีบทบาทสำคัญทางการเมือง จึงส่งผลทำให้การบริหารบ้านเมืองของรัฐบาลลิทัวเนียในเรื่องชนกลุ่มน้อยค่อนข้างเป็นไปอย่างราบรื่น เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศบอลติกอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ ลัตเวีย และ[[เอสโตเนีย]]
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
เส้น 94 ⟶ 126:
* วิลนีอุส (Vilnius) (ดู [[วิลนีอุส|กรุงวิลนีอุส]])
 
=== ต่างประเทศ ===
== ลักษณะภูมิประเทศ ==
==== การเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ====
มีพื้นที่ 65,300 ตารางกิโลเมตร ใหญ่ที่สุดในจำนวน 3 ประเทศแถบบอลติก (เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าสนและเนินทราย ลิทัวเนียเป็นแหล่งอำพัน (Amber) ที่สำคัญ
เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2547 (ค.ศ. 2004) ลิทัวเนียและประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มบอลติก คือ [[ประเทศเอสโตเนีย|เอสโตเนีย]]และ[[ประเทศลัตเวีย|ลัตเวีย]] พร้อมด้วย[[สาธารณรัฐเช็ก]] [[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] [[ประเทศมอลตา|มอลตา]] [[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]] [[ประเทศสโลวีเนีย|สโลวีเนีย]] และ[[ประเทศสโลวาเกีย|สโลวาเกีย]] ได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของ[[สหภาพยุโรป]]อย่างสมบูรณ์
 
ก่อนหน้านี้ ลิทัวเนียและกลุ่มประเทศบอลติกพยายามที่จะดำเนินการเจรจาเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในขั้นตอนต่าง ๆ และการปฏิบัติตามเงื่อนไขของการเข้าเป็นสมาชิกใหม่ให้เสร็จสิ้นลุล่วงในปี 2545 (ค.ศ. 2002) เพื่อที่จะได้มีความพร้อมสำหรับการลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งรัฐสภายุโรปในปี 2547 (ค.ศ. 2004)
== ประชากร ==
ลิทัวเนียมีประชากร 3,596,617 คน ([[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2548|2548]]) เป็นชาวลิทัวเนียร้อยละ 83.5 ชาวรัสเซียร้อยละ 9 ชาวโปลร้อยละ 7 และชาวเบโลรัสเซียร้อยละ 1.5 ใช้ภาษาลิทัวเนียเป็นภาษาทางการ ประมาณร้อยละ 80 ของประชากรใช้ภาษารัสเซีย ประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมากที่สุด แต่สำหรับชาวรัสเซียในลิทัวเนียนับถือศาสนาคริสต์นิกายออร์ทอดอกซ์
 
==== การเข้าเป็นสมาชิกองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ====
== วัฒนธรรม ==
ลิทัวเนียได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การนาโต ในปี 2545 (ค.ศ. 2002) โดยรัฐบาลดำเนินนโยบายในเชิงรุกเพื่อสร้างความตื่นตัวและความกระตือรือร้นให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการเป็นสมาชิกภาพองค์การนาโต ของลิทัวเนียในด้านต่าง ๆ และจะมีการติดต่อหารืออย่างต่อเนื่องกับประเทศสมาชิกองค์การนาโต เพื่อแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของลิทัวเนีย
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมลิทัวเนีย}}
 
เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2546 (ค.ศ. 2003) สมาชิกองค์การนาโต 19 ประเทศ ได้ ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรับสมาชิกใหม่ 7 ประเทศ คือ [[ประเทศบัลแกเรีย|บัลแกเรีย]] เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย [[ประเทศโรมาเนีย|โรมาเนีย]] สโลวาเกีย และสโลวีเนีย ที่กรุง[[บรัสเซลส์]] ต่อมา มื่อวันที่ 29 มีนาคม 2547 ประเทศสมาชิกองค์การนาโตใหม่ ทั้ง 7 ประเทศ ได้มอบภาคยานุวัตรสารให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่กรุง[[วอชิงตัน ดี.ซี.]]
=== สถาปัตยกรรม ===
{{โครง-ส่วน}}
 
==== การพัฒนาสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน ====
=== วรรณกรรม ===
ลิทัวเนียให้ความสำคัญแก่การพัฒนาความสัมพันธ์และความเป็นหุ้นส่วนที่ใกล้ชิดกับโปแลนด์ การแสวงหาความร่วมมือในภูมิภาคยุโรปเหนือกับกลุ่มประเทศแถบทะเลบอลติกและกลุ่มประเทศนอร์ดิก (Nordic) การกระชับความร่วมมือกับ[[สหพันธรัฐรัสเซีย|รัสเซีย]]โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ พลังงาน การคมนาคมขนส่ง รวมทั้งการขยายความร่วมมือกับ[[ประเทศเบลารุส|เบลารุส]] และประเทศต่าง ๆ ใน[[แถบทะเลดำ]]
{{โครง-ส่วน}}
 
==== การดำเนินนโยบายการทูตเชิงเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ====
=== ภาษา ===
ลิทัวเนียจะมุ่งเน้นการพัฒนาในการส่งออกและการแสวงหาการลงทุนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนาขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของลิทัวเนีย ขณะเดียวกัน มุ่งเน้นให้ความสำคัญมากขึ้นแก่มิติความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมกับประเทศต่าง ๆ เพื่อที่จะส่งผลเกื้อกูลต่อการดำเนินนโยบายต่างประเทศของลิทัวเนีย
ภาษาลิทัวเนียแทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาใดๆในยุโรปเลยเนื่องจากมีต้นกำเนิดมาจากภาษาสันสกฤต (เพราะฉะนั้นจะมีบางคำที่คล้ายๆกันในภาษาไทย (เลขนับ) แต่บริบทการใช้แตกต่างกันมาก) มีอักขระพิเศษคือ ą č ę ė į š ų ū ž<ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1081821288571310 หรรษาลัตเวีย]</ref>
 
==== ความสัมพันธ์กับประเทศไทย ====
=== ดนตรี ===
{{กล่องข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ|ลิทัวเนีย – ไทย|ลิทัวเนีย|ไทย|map=Lithuania Thailand Locator.png}}
* การเมือง
{{โครง-ส่วน}}
 
* การทูต
=== อาหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
* การค้าและเศรษฐกิจ
=== กีฬา ===
{{โครง-ส่วน}}
 
* การศึกษาและวิชาการ
=== วันหยุด ===
{{โครง-ส่วน}}
 
* การแลกเปลี่ยนการเยือน
===== ฝ่ายไทย =====
* เดือนกันยายน 2535 (ค.ศ. 1992) คณะทำงานของกระทรวงการต่างประเทศ (Familiarization Mission) เดินทางเยือนประเทศกลุ่มบอลติก (ลิทัวเนีย เอสโตเนีย และลัตเวีย) เพื่อสำรวจลู่ทางการพัฒนาความสัมพันธ์
* วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2541 (ค.ศ. 1998) เอกอัครราชทูต ณ กรุง[[โคเปนเฮเกน]] (มีเขตอาณาครอบคลุมลิทัวเนียและ[[ประเทศไอซ์แลนด์|ไอซ์แลนด์]]) เข้าร่วมพิธีรับตำแหน่งประธานาธิบดีลิทัวเนีย (นายวัลดัส อะดัมคุส) ที่กรุงวิลนีอุส
* วันที่ 3-4 พฤษภาคม 2542 (ค.ศ. 1999) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (ม.ร.ว. สุขุมพันธุ์ บริพัตร) พบหารือทวิภาคีกับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศลิทัวเนีย (นาย Rolnas Bernotas) ในระหว่างการประชุม Landmine Conference ที่โมซัมบิก
* วันที่ 22 สิงหาคม - 3 กันยายน 2542 (ค.ศ. 1999) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเยือนเกาะ[[กรีนแลนด์]] ลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย เป็นการส่วนพระองค์ (ลิทัวเนีย ระหว่างวันที่ 1-3 กันยายน 2542 (ค.ศ. 1999))
* วันที่ 9-19 กรกฎาคม 2543 (ค.ศ. 2000) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมกับสมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA) จัดงาน Baltic Countries Road Show 2000 ที่เอสโตเนีย ลัตเวียและลิทัวเนีย (กรุงวิลนีอุส วันที่ 17 กรกฎาคม 2543 (ค.ศ. 2000))
* วันที่ 15-18 กุมภาพันธ์ 2546 (ค.ศ. 2003) เอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน (มีเขตอาณาครอบคลุมลิทัวเนียและไอซ์แลนด์) เดินทางเยือนลิทัวเนียเพื่อเข้าร่วมงานฉลองวันชาติลิทัวเนีย และได้พบหารือกับบุคคลสำคัญภาครัฐและเอกชนลิทัวเนีย
* วันที่ 1-4 ตุลาคม 2546 (ค.ศ. 2003) นายกันตธีร์ ศุภมงคล ผู้แทนการค้าไทย (Thai Trade Representative -TTR) พร้อมคณะภาคเอกชนเดินทางไปเยือนลิทัวเนียตาม คำเชิญของนาย Petras Cesna รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจลิทัวเนีย (ผู้แทนการค้าไทยแวะเยือนเดนมาร์ก และเยือนลิทัวเนีย โรมาเนียและบัลแกเรีย ระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 13 ตุลาคม 2546)
 
===== ฝ่ายลิทัวเนีย =====
* วันที่ 7-14 ตุลาคม 2545 (ค.ศ. 2002) นายกีนูติส ไดนีอุส โวเวริส (Ginutis Dainius VOVERIS) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐลิทัวเนียประจำประเทศไทย ซึ่งมีถิ่นพำนัก ณ กรุงวิลนีอุส เดินทางมาเยือนไทยเพื่อเข้าเฝ้าฯ ถวายอักษรสาส์นตราตั้ง (วันที่ 9 ตุลาคม 2545) ในระหว่างการเยือนไทย เอกอัครราชทูตโวเวริส ได้เข้าเยี่ยมคารวะ ฯพณฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี รวมทั้งประธานรัฐสภา (นายอุทัย พิมพ์ใจชน) และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ (นายเตช บุนนาค)
* วันที่ 10-15 พฤศจิกายน 2546 (ค.ศ. 2003) นายเปตรัส เซสนา (Petras Cesna) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจลิทัวเนีย พร้อมด้วยคณะภาคเอกชน เยือนไทยอย่างเป็นทางการ ตามคำเชิญของผู้แทนการค้าไทย (นายกันตธีร์ ศุภมงคล) ในระหว่างการเยือน รัฐมนตรีเซสนาได้เข้าเยี่ยมคารวะ ฯพณฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และเข้าพบหารือกับฯพณฯ นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและ ฯพณฯ นายวัฒนา เมืองสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
* วันที่ 5-7 เมษายน 2547 (ค.ศ. 2004) นายอันโตนัส วาลิโอนิส (Antanas Valionis) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลิทัวเนีย และภริยา พร้อมด้วยคณะภาคเอกชน เยือนไทย อย่างเป็นทางการในฐานะแขกของกระทรวงการต่างประเทศ ตามคำเชิญของ
ฯพณฯ นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ในระหว่างการเยือน รัฐมนตรีวาลิโอนีสได้เข้าเยี่ยมคารวะ ฯพณฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และเข้าพบหารือกับ ฯพณฯ นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และผู้แทนการค้าไทย (นายกันตธีร์ ศุภมงคล)
* วันที่ 14-17 พฤศจิกายน 2547 (ค.ศ. 2004) นายกีนูติส ไดนีอุส โวเวริส เอกอัครราชทูตลิทัวเนียประจำประเทศไทย ซึ่งมีถิ่นพำนัก ณ กรุงวิลนีอุส เดินทางเยือนไทยเพื่อกระชับความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทย-ลิทัวเนีย ต่อเนื่องจากการเยือนของนาย อันโตนัส วาลิโอนิส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเมื่อวันที่ 5-7 เมษายน 2547
* วันที่ 16-25 เมษายน 2548 (ค.ศ. 2005) นายกินตารัส บูซินสคัส (Gintaras Buzinskas) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมลิทัวเนีย พร้อมด้วยคณะ เดินทางเยือนไทยเพื่อเข้าร่วมการประชุม UN Congress on Crime Prevention and Criminal Justice
 
=== กองทัพ ===
{{บทความหลัก|กองทัพลิทัวเนีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== เศรษฐกิจและการค้า ==
เส้น 140 ⟶ 195:
* สินค้าส่งออกสำคัญ ผลิตภัณฑ์แร่ธาตุ เครื่องจักร เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ อุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่ง เคมีภัณฑ์
 
=== การท่องเที่ยว ===
{{บทความหลัก|การท่องเที่ยวในลิทัวเนีย}}
การเดินทางมาท่องเที่ยวประเทศไทยของชาวลิทัวเนียเริ่มขึ้นในปี 2533 จากสถิติในปี 2542 มีจำนวนนักท่องเที่ยวเดินทางมาไทยจำนวน 478 คน ในปี 2544 มีจำนวน 616 คนซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2543 ร้อยละ 20.55 ในปี 2545 มีจำนวน 683 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.88 และในปี 2546 มีจำนวน 575 คน ลดลงร้อยละ 15.81 สำหรับในช่วงมกราคม-ตุลาคม ปี 2547 มีนักท่องเที่ยวชาวลิทัวเนียเดินทางมาประเทศไทยทั้งหมด 658 คน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2546 ร้อยละ 55.56 ในช่วงแรกประเทศไทยได้รับความนิยมจากชาวลิทัวเนียในฐานะที่เป็นแหล่งการค้า อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันชาวลิทัวเนียเดินทางมายังประเทศไทยในฐานะนักท่องเที่ยวมากขึ้น แหล่งท่องเที่ยวที่นิยม คือ [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]] [[พัทยา]] [[จังหวัดภูเก็ต|ภูเก็ต]] [[อำเภอเกาะสมุย|เกาะสมุย]] และชาวลิทัวเนียนิยมท่องเที่ยวในลักษณะแบบครอบครัว และการท่องเที่ยวในรูปแบบผจญภัยเช่น ดำน้ำ ล่องแก่ง และปีนภูเขา
 
== ประชากรศาสตร์ ==
== นโยบายต่างประเทศ ==
=== ประชากร ===
ลิทัวเนียมีประชากร 3,596,617 คน ([[กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2548|2548]]) เป็นชาวลิทัวเนียร้อยละ 83.5 ชาวรัสเซียร้อยละ 9 ชาวโปลร้อยละ 7 และชาวเบโลรัสเซียร้อยละ 1.5 ใช้ภาษาลิทัวเนียเป็นภาษาทางการ ประมาณร้อยละ 80 ของประชากรใช้ภาษารัสเซีย ประชากรนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกมากที่สุด แต่สำหรับชาวรัสเซียในลิทัวเนียนับถือศาสนาคริสต์นิกายออร์ทอดอกซ์
 
=== ภาษา ===
=== การเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ===
{{บทความหลัก|ภาษาในประเทศลิทัวเนีย}}
เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2547 (ค.ศ. 2004) ลิทัวเนียและประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มบอลติก คือ [[ประเทศเอสโตเนีย|เอสโตเนีย]]และ[[ประเทศลัตเวีย|ลัตเวีย]] พร้อมด้วย[[สาธารณรัฐเช็ก]] [[ประเทศไซปรัส|ไซปรัส]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] [[ประเทศมอลตา|มอลตา]] [[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]] [[ประเทศสโลวีเนีย|สโลวีเนีย]] และ[[ประเทศสโลวาเกีย|สโลวาเกีย]] ได้เข้าเป็นสมาชิกใหม่ของ[[สหภาพยุโรป]]อย่างสมบูรณ์
ภาษาลิทัวเนียแทบจะไม่มีความเกี่ยวข้องกับภาษาใดๆในยุโรปเลยเนื่องจากมีต้นกำเนิดมาจากภาษาสันสกฤต (เพราะฉะนั้นจะมีบางคำที่คล้ายๆกันในภาษาไทย (เลขนับ) แต่บริบทการใช้แตกต่างกันมาก) มีอักขระพิเศษคือ ą č ę ė į š ų ū ž<ref>[https://www.facebook.com/funinlatvia/posts/1081821288571310 หรรษาลัตเวีย]</ref>
 
=== ศาสนา ===
ก่อนหน้านี้ ลิทัวเนียและกลุ่มประเทศบอลติกพยายามที่จะดำเนินการเจรจาเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในขั้นตอนต่าง ๆ และการปฏิบัติตามเงื่อนไขของการเข้าเป็นสมาชิกใหม่ให้เสร็จสิ้นลุล่วงในปี 2545 (ค.ศ. 2002) เพื่อที่จะได้มีความพร้อมสำหรับการลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งรัฐสภายุโรปในปี 2547 (ค.ศ. 2004)
{{บทความหลัก|ศาสนาในประเทศลิทัวเนีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
=== กีฬา ===
=== การเข้าเป็นสมาชิกองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ===
{{บทความหลัก|ลิทัวเนียในโอลิมปิก|ลิทัวเนียในพาราลิมปิก}}
ลิทัวเนียได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การนาโต ในปี 2545 (ค.ศ. 2002) โดยรัฐบาลดำเนินนโยบายในเชิงรุกเพื่อสร้างความตื่นตัวและความกระตือรือร้นให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการเป็นสมาชิกภาพองค์การนาโต ของลิทัวเนียในด้านต่าง ๆ และจะมีการติดต่อหารืออย่างต่อเนื่องกับประเทศสมาชิกองค์การนาโต เพื่อแสดงให้เห็นถึงความพร้อมของลิทัวเนีย
 
==== ฟุตบอล ====
เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2546 (ค.ศ. 2003) สมาชิกองค์การนาโต 19 ประเทศ ได้ ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรับสมาชิกใหม่ 7 ประเทศ คือ [[ประเทศบัลแกเรีย|บัลแกเรีย]] เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย [[ประเทศโรมาเนีย|โรมาเนีย]] สโลวาเกีย และสโลวีเนีย ที่กรุง[[บรัสเซลส์]] ต่อมา มื่อวันที่ 29 มีนาคม 2547 ประเทศสมาชิกองค์การนาโตใหม่ ทั้ง 7 ประเทศ ได้มอบภาคยานุวัตรสารให้แก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่กรุง[[วอชิงตัน ดี.ซี.]]
{{บทความหลัก|สมาพันธ์ฟุตบอลลิทัวเนีย|ฟุตบอลทีมชาติลิทัวเนีย|ฟุตซอลทีมชาติลิทัวเนีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
==== วอลเลย์บอล ====
=== การพัฒนาสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน ===
{{บทความหลัก|สมาพันธ์วอลเลย์บอลลิทัวเนีย}}
ลิทัวเนียให้ความสำคัญแก่การพัฒนาความสัมพันธ์และความเป็นหุ้นส่วนที่ใกล้ชิดกับโปแลนด์ การแสวงหาความร่วมมือในภูมิภาคยุโรปเหนือกับกลุ่มประเทศแถบทะเลบอลติกและกลุ่มประเทศนอร์ดิก (Nordic) การกระชับความร่วมมือกับ[[สหพันธรัฐรัสเซีย|รัสเซีย]]โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ พลังงาน การคมนาคมขนส่ง รวมทั้งการขยายความร่วมมือกับ[[ประเทศเบลารุส|เบลารุส]] และประเทศต่าง ๆ ใน[[แถบทะเลดำ]]
{{โครง-ส่วน}}
 
==== มวยสากล ====
=== การดำเนินนโยบายการทูตเชิงเศรษฐกิจและวัฒนธรรม ===
{{บทความหลัก|สมาพันธ์มวยสากลลิทัวเนีย}}
ลิทัวเนียจะมุ่งเน้นการพัฒนาในการส่งออกและการแสวงหาการลงทุนจากต่างประเทศเพื่อพัฒนาขีดความสามารถทางเศรษฐกิจของลิทัวเนีย ขณะเดียวกัน มุ่งเน้นให้ความสำคัญมากขึ้นแก่มิติความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมกับประเทศต่าง ๆ เพื่อที่จะส่งผลเกื้อกูลต่อการดำเนินนโยบายต่างประเทศของลิทัวเนีย
{{โครง-ส่วน}}
 
== วัฒนธรรม ==
=== การแลกเปลี่ยนการเยือน ===
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมลิทัวเนีย}}
=== ประเทศไทย ===
===== ฝ่ายไทย =====
* เดือนกันยายน 2535 (ค.ศ. 1992) คณะทำงานของกระทรวงการต่างประเทศ (Familiarization Mission) เดินทางเยือนประเทศกลุ่มบอลติก (ลิทัวเนีย เอสโตเนีย และลัตเวีย) เพื่อสำรวจลู่ทางการพัฒนาความสัมพันธ์
* วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2541 (ค.ศ. 1998) เอกอัครราชทูต ณ กรุง[[โคเปนเฮเกน]] (มีเขตอาณาครอบคลุมลิทัวเนียและ[[ประเทศไอซ์แลนด์|ไอซ์แลนด์]]) เข้าร่วมพิธีรับตำแหน่งประธานาธิบดีลิทัวเนีย (นายวัลดัส อะดัมคุส) ที่กรุงวิลนีอุส
* วันที่ 3-4 พฤษภาคม 2542 (ค.ศ. 1999) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (ม.ร.ว. สุขุมพันธุ์ บริพัตร) พบหารือทวิภาคีกับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศลิทัวเนีย (นาย Rolnas Bernotas) ในระหว่างการประชุม Landmine Conference ที่โมซัมบิก
* วันที่ 22 สิงหาคม - 3 กันยายน 2542 (ค.ศ. 1999) สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จเยือนเกาะ[[กรีนแลนด์]] ลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย เป็นการส่วนพระองค์ (ลิทัวเนีย ระหว่างวันที่ 1-3 กันยายน 2542 (ค.ศ. 1999))
* วันที่ 9-19 กรกฎาคม 2543 (ค.ศ. 2000) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ร่วมกับสมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA) จัดงาน Baltic Countries Road Show 2000 ที่เอสโตเนีย ลัตเวียและลิทัวเนีย (กรุงวิลนีอุส วันที่ 17 กรกฎาคม 2543 (ค.ศ. 2000))
* วันที่ 15-18 กุมภาพันธ์ 2546 (ค.ศ. 2003) เอกอัครราชทูต ณ กรุงโคเปนเฮเกน (มีเขตอาณาครอบคลุมลิทัวเนียและไอซ์แลนด์) เดินทางเยือนลิทัวเนียเพื่อเข้าร่วมงานฉลองวันชาติลิทัวเนีย และได้พบหารือกับบุคคลสำคัญภาครัฐและเอกชนลิทัวเนีย
* วันที่ 1-4 ตุลาคม 2546 (ค.ศ. 2003) นายกันตธีร์ ศุภมงคล ผู้แทนการค้าไทย (Thai Trade Representative -TTR) พร้อมคณะภาคเอกชนเดินทางไปเยือนลิทัวเนียตาม คำเชิญของนาย Petras Cesna รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจลิทัวเนีย (ผู้แทนการค้าไทยแวะเยือนเดนมาร์ก และเยือนลิทัวเนีย โรมาเนียและบัลแกเรีย ระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 13 ตุลาคม 2546)
 
=== สถาปัตยกรรม ===
===== ฝ่ายลิทัวเนีย =====
{{โครง-ส่วน}}
* วันที่ 7-14 ตุลาคม 2545 (ค.ศ. 2002) นายกีนูติส ไดนีอุส โวเวริส (Ginutis Dainius VOVERIS) เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐลิทัวเนียประจำประเทศไทย ซึ่งมีถิ่นพำนัก ณ กรุงวิลนีอุส เดินทางมาเยือนไทยเพื่อเข้าเฝ้าฯ ถวายอักษรสาส์นตราตั้ง (วันที่ 9 ตุลาคม 2545) ในระหว่างการเยือนไทย เอกอัครราชทูตโวเวริส ได้เข้าเยี่ยมคารวะ ฯพณฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี รวมทั้งประธานรัฐสภา (นายอุทัย พิมพ์ใจชน) และปลัดกระทรวงการต่างประเทศ (นายเตช บุนนาค)
 
* วันที่ 10-15 พฤศจิกายน 2546 (ค.ศ. 2003) นายเปตรัส เซสนา (Petras Cesna) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจลิทัวเนีย พร้อมด้วยคณะภาคเอกชน เยือนไทยอย่างเป็นทางการ ตามคำเชิญของผู้แทนการค้าไทย (นายกันตธีร์ ศุภมงคล) ในระหว่างการเยือน รัฐมนตรีเซสนาได้เข้าเยี่ยมคารวะ ฯพณฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และเข้าพบหารือกับฯพณฯ นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและ ฯพณฯ นายวัฒนา เมืองสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
=== วรรณกรรม ===
* วันที่ 5-7 เมษายน 2547 (ค.ศ. 2004) นายอันโตนัส วาลิโอนิส (Antanas Valionis) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลิทัวเนีย และภริยา พร้อมด้วยคณะภาคเอกชน เยือนไทย อย่างเป็นทางการในฐานะแขกของกระทรวงการต่างประเทศ ตามคำเชิญของ
{{โครง-ส่วน}}
ฯพณฯ นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
 
ในระหว่างการเยือน รัฐมนตรีวาลิโอนีสได้เข้าเยี่ยมคารวะ ฯพณฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี และเข้าพบหารือกับ ฯพณฯ นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และผู้แทนการค้าไทย (นายกันตธีร์ ศุภมงคล)
=== ดนตรี ===
* วันที่ 14-17 พฤศจิกายน 2547 (ค.ศ. 2004) นายกีนูติส ไดนีอุส โวเวริส เอกอัครราชทูตลิทัวเนียประจำประเทศไทย ซึ่งมีถิ่นพำนัก ณ กรุงวิลนีอุส เดินทางเยือนไทยเพื่อกระชับความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทย-ลิทัวเนีย ต่อเนื่องจากการเยือนของนาย อันโตนัส วาลิโอนิส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเมื่อวันที่ 5-7 เมษายน 2547
{{โครง-ส่วน}}
* วันที่ 16-25 เมษายน 2548 (ค.ศ. 2005) นายกินตารัส บูซินสคัส (Gintaras Buzinskas) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมลิทัวเนีย พร้อมด้วยคณะ เดินทางเยือนไทยเพื่อเข้าร่วมการประชุม UN Congress on Crime Prevention and Criminal Justice
 
=== อาหาร ===
{{โครง-ส่วน}}
 
=== สื่อสารมวลชน ===
{{บทความหลัก|สื่อสารมวลชนในประเทศลิทัวเนีย}}
 
=== วันหยุด ===
{{บทความหลัก|รายชื่อวันสำคัญของลิทัวเนีย}}
 
== อ้างอิง ==
เส้น 189 ⟶ 255:
# http://www.president.lt
 
{{Navboxes
|list1=
{{ประเทศลิทัวเนีย}}
{{ยุโรป}}
{{อียู}}
{{นาโต}}
}}
 
[[หมวดหมู่:ประเทศลิทัวเนีย| ]]