ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานควาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
ชื่อ "สะพานควาย" มาจากพื้นที่แถบนี้ในอดีต มีภาพเป็น[[ทุ่งนา]]และป่า รวมถึงคูคลองและสวนผัก ที่มีนายฮ้อย หรือพ่อค้าวัวควายจากภาคอีสานเดินทางมาขายยังภาคกลาง และมาไกลถึงยังพื้นที่นี้ด้วย โดยที่กลางทุ่งนานั้นจะมีสะพานไม้สร้างไว้เพื่อให้ฝูงวัวและควายเดินข้ามคูส่งน้ำได้สะดวก โดยเฉพาะในช่วงหัวค่ำ
 
ปัจจุบัน บริเวณแยกสะพานควายเป็นย่านที่คึกคัก เต็มไปด้วยตลาดและร้านค้า เป็นที่ตั้งของ[[ธนาคารออมสิน]] สำนักงานใหญ่, โรงพยาบาล เปาโล เมโมเรียล และ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส|สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอส]] [[สถานีสะพานควาย|สะพานควาย]]<ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9520000044630|work=[[ผู้จัดการออนไลน์]]|title=ส่อง(ย่าน)สรรพสัตว์ สืบประวัติอดีต กทม.|author=หนุ่มลูกทุ่ง|date=2009-04-21|accessdate=2018-03-03}}</ref> อีกทั้งยังเคยเป็นที่ตั้งของห้าง[[เมอร์รี่คิงส์]] สะพานควาย ที่เปิดให้บริการในปี พ.ศ. 2528 และเกิดเหตุ[[เพลิงไหม้]]เมื่อปี พ.ศ. 2529 ซึ่งปัจจุบันกิจการของเมอร์รี่คิงส์ก็ได้ปิดตัวไปแล้ว และกลายเป็นที่ตั้งของห้าง[[บิ๊กซี]] สะพานควายแทน <ref>{{cite web|url=https://www.finnomena.com/longtunman/merry-king/|title=ตำนาน เมอร์รี่คิงส์|work=FINNOMENA|author=ลงทุนแมน|date=2017-09-17|accessdate=2018-03-03}}</ref>
 
==อ้างอิง==