ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคเท้าช้าง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
สาเหตุของโรคเท้าช้างมักมาจากหนอนพยาธิ เช่น ''[[Wuchereria bancrofti]]'', ''[[Brugia malayi]]'', และ ''[[Brugia timori|B. timori]]'' ซึ่งมี[[ยุง]]เป็นพาหะ มักเกิดมากในเขตร้อนเช่น[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]และ[[แอฟริกา]] โดยจะเกิดการอุดกั้น[[หลอดน้ำเหลือง]] น้ำเหลืองเกิดการคั่งและทำให้ลำตัวส่วนล่าง รวมทั้งขาและอวัยวะเพศบวม ในปัจจุบันสาเหตุของการอุดกั้นยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่าเกิดจากตัวพยาธิเองหรือเกิดจากการตอบสนองของ[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]ต่อพยาธิ โรคเท้าช้างจากสาเหตุนี้มักเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า [[ฟิลาริเอสิสของระบบน้ำเหลือง]] (lymphatic filariasis) เพราะมีสาเหตุมาจากหนอนพยาธิขนาดเล็ก<ref name= CDC>{{cite journal | author = CDC.| title=Lymphatic Filariasis | journal= Centers for Disease Control and Prevention. | year=2008 | pages=http://www.cdc.gov/ncidod/dpd/parasites/lymphaticfilariasis/index.htm}}</ref> โดยจะมีเฉพาะหนอนพยาธิตัวเต็มวัยเท่านั้นที่อาศัยในระบบน้ำเหลืองของมนุษย์<ref>{{cite journal|author=Niwa, Seiji|title=Prevalence of Vizcarrondo worms in early onset lymphatic filariasis: A case study in testicular elephantiasis|journal=Univ Puerto Rico Med J|volume=22|pages=187-193}}</ref>
 
นอกจากนี้ โรคเท้าช้างอาจไม่ได้มีสาเหตุมาจากพยาธิ เรียกว่าโรค Nonfilarial elephantiasis หรือ [[Podoconiosis]] ซึ่งมีรายงานการพบที่ประเทศ[[ยูกันดา]] [[แทนซาเนีย]] [[เคนยา]] [[รวันดา]] [[บุรุนดี]] [[ซูดาน]] และ[[เอธิโอเปีย]]<ref>{{cite journal| author = Davey G, Tekola F, Newport MJ| title = Podoconiosis| journal = Trans R Soc Trop Med Hyg| year = 2007| volume = 101| pages = 1175-80| doi = 10.1016/j.trstmh.2007.08.013}}</ref> โดยประเทศที่พบโรคนี้มากที่สุดคือประเทศเอธิโอเปีย ซึ่งมีประชากรถึงร้อยละ 6 เป็นโรคนี้ในบริเวณที่มีการระบาด<ref>{{cite journal|author=Birrie H, Balcha F, Jemaneh L|title=Elephantiasis in Pawe settlement area: podoconiosis or bancroftian filariasis?|journal=Ethiop Med J|volume=35|pages=245-250}}</ref><ref>{{cite journal|author=Desta K, Ashine M, Davey G|year=2003|title=Prevalence of podoconiosis (endemic non-filarial elephantiasis) in Wolaitta, Southern Ethiopia|journal=Trop Doct|volume=32|pages=217-220}}</ref> โรคนี้เชื่อว่าเกิดจากการสัมผัสดินที่ก่อให้เกิดความระคายเคืองเป็นเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งดินเหนียวสีแดง (red clay) ซึ่งอุดมไปด้วย[[โลหะอัลคาไลน์]]เช่น[[โซเดียม]]และ[[โพแทสเซียม]] และมาจากหินภูเขาไฟ<ref>{{cite journal|author=Price EW|year=1974|title=The relationship bewteen endemic elephantiasis of the lower legs and the local soils and climate. A study in Wollamo District, Southern Ethiopia|journal=Trop Geogr Med|volume=26|pages=226-230}}</ref><ref>{{cite journal|author=Price EW|title=The Association of endemic elephantiasis of the lower legs in East Africa with soil derived from volcanic rocks|journal=Trans R Soc Trop Med Hyg|volume=70|pages=288-295|doi=10.1016/0035-9203 (76) 90078-X|year=1976}}</ref>
 
== อ้างอิง ==