ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารต้านอนุมูลอิสระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PepeBonus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: โยงไปหน้าที่มี
บรรทัด 9:
 
== ประวัติ ==
ตั้งแต่การวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจากท้องทะเลสู่พืชบก มีการผลิตสารจำพวกต้านอนุมูลอิสระจำพวกแรกอาทิ [[กรดแอสคอร์บิก]] ([[วิตามินซี]]) [[โพลีฟีนอล]] [[ฟลาโวนอยด์]] และ[[โทโคเฟอรอลฟีรอล]] ภายหลังพืชได้มีวิวัฒนาการเป็น[[พืชชั้นสูง]] ในช่วง 50 - 200 ล้านปีก่อนโดยเฉพาะช่วง[[ยุคจูแรสซิก]] การผลิตเม็ดสีอันเป็นสารต้านอนุมูลอิสระเกิดขึ้นมากในช่วงปลายยุคจูแรสซิก โดยเป็นสารเคมีฤทธิต่อต้านจำพวก[[รีแอ็กทีฟออกซิเจน]]อันเป็นผลเนื่องมาจาก[[กระบวนการการสังเคราะห์ด้วยแสง]]<ref>{{cite journal|doi=10.1016/S1095-6433 (02) 00368-9|last1=Benzie|first1=IF|title=Evolution of dietary antioxidants|journal=Comparative biochemistry and physiology. Part A, Molecular & integrative physiology|volume=136|issue=1|pages=113–26|year=2003|pmid=14527634}}</ref><ref>{{cite journal | last1=Venturi|first1=S| last2=Donati|first2=FM|last3=Venturi |first3=A|last4=Venturi |first4=M|title=Environmental iodine deficiency: A challenge to the evolution of terrestrial life?|journal=Thyroid : official journal of the American Thyroid Association|volume=10|issue=8|pages=727–9|year=2000|pmid=11014322|doi=10.1089/10507250050137851}}</ref> คำว่าสารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) เดิมใช้เพื่ออ้างถึงสารเคมีที่ป้องกันการใช้ออกซิเจนในปฏิกิริยา ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการศึกษาเพิ่มเติมอย่างกว้างขวางในประเด็นการใช้สารต้านอนุมูลอิสระในกระบวนการสำคัญของอุตสาหกรรม อาทิ การป้องกันการสึกกร่อนของโลหะ กระบวนการวัลคาไนเซชันของยาง และกระบวนการเกิดสารประกอบพอลิเมอร์ของเชื้อเพลงในสิ่งเปรอะเปื้อนของเครื่องยนต์สันดาปภายใน<ref>{{cite journal|unused_data=DUPLICATE DATA: author=Antioxidants|author=Matill HA |year=1947|pmid=20259061|title=Antioxidants.|doi=10.1146/annurev.bi.16.070147.001141|journal=Annu Rev Biochem|volume=16|pages=177–192}}</ref>
 
การวิจัยในระยะแรกของบทบาทสารต้านอนุมูลอิสระในทางชีววิทยามุ่งประเด็นเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของไขมันไม่อิ่มตัวซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดกลิ่นเหม็นหืน<ref>{{cite journal |author=German J |title=Food processing and lipid oxidation |journal=Adv Exp Med Biol |volume=459 |pages=23–50 |year=1999 |pmid=10335367}}</ref> ฤทธิ์สารต้านอนุมูลอิสระสามารถวัดอย่างง่ายโดยนำไขมันใส่ในภาชนะปิดที่มีออกซิเจนและวัดปริมาณออกซิเจนที่ถูกใช้ไปในปฏิกิริยา อย่างไรก็ดีวิธีการดังกล่าวก็ทำให้สามารถระบุได้ว่า [[วิตามินเอ]], [[วิตามินซี|ซี]] และ[[วิตามินอี|อี]] ว่าเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงนำไปสู่การตระหนักถึงความสำคัญของสารต้านอนุมูลอิสระในสิ่งมีชีวิต<ref>{{cite journal |author=Jacob R |title=Three eras of vitamin C discovery |journal=Subcell Biochem |volume=25 |pages=1–16 |year=1996 |pmid=8821966}}</ref><ref>{{cite journal |author=Knight J |title=Free radicals: their history and current status in aging and disease |journal=[[Ann Clin Lab Sci]] |volume=28 |issue=6 |pages=331–46 |year=1998 |pmid=9846200}}</ref>