ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แวร์มัคท์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 58:
 
== ประวัติ==
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมนีผู้พ่ายแพ้สงครามได้ถูกกำหนดให้กำลังพลกองทัพบกเยอรมันตามสนธิสัญญาแวร์ซายจำกัดได้ไม่เกิน 100,000 นาย กองทัพอากาศถูกยุบ เรือรบถูกจำกัดจำนวน และรวมไปถึงห้ามผลิตอาวุธหรือครอบครองยุทโธปกรณ์ต่างๆเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้กองทัพเยอรมันก่อสงครามขึ้นอีก แต่ต่อมาภายหลังพรรคนาซีได้เรืองอำนาจในเยอรมนี ฮิตเลอร์แอบสร้างเสริมอาวุธยุทธภัณฑ์ฟื้นฟูแสนยานุภาพทางทหารอย่างลับ ๆลับๆ จากนั้นก็สั่งระดมพลทั่วประเทศในปี ค.ศ. 1935 ซึ่งชาวเยอรมันอายุตั้งแต่ 18 – 45 ปีต้องไปเกณฑ์ทหาร รวมถึงสร้างจัดตั้งกองทัพอากาศในปีเดียวกันด้วย ทว่าอังกฤษและฝรั่งเศสต่างไม่ได้ต่อต้านแต่ประการใดเพราะเชื่อมั่นว่าฮิตเลอร์ปรารถนาสันติภาพ ต่อมามีการทำข้อตกลงการเดินเรืออังกฤษ–เยอรมัน ซึ่งเป็นการขยายขนาดกองทัพเรือเยอรมัน
 
มโนทัศน์ก้าวหน้าของกองทัพบกเยอรมันบุกเบิกระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยการรวมกำลังภาคพื้นและทางอากาศมาเป็นชุดอาวุธผสม ประกอบกับวิธีการสู้รบสงครามแต่เดิม เช่น การโอบล้อมและ "การยุทธ์การทำลายล้าง" กองทัพเยอรมันจึงคว้าชัยชนะรวดเร็วปานสายฟ้าหลายครั้งในปีแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ทำให้นักหนังสือพิมพ์ต่างชาติสร้างคำใหม่แก่สิ่งที่เขาพบเห็นว่า "[[บลิทซครีก]]" จำนวนทหารทั้งหมดที่รับรัฐการในเวร์มัคท์ระหว่างที่มีอยู่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1935 – ค.ศ. 1945 เชื่อกันว่าถึง 18.2 ล้านนาย ตัวเลขอย่างเป็นทางการระบุว่ามีทหารเยอรมันเสียชีวิตตลอดสงครามราว 5.3 ล้านนาย
 
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พรรคนาซีได้ใช้กองทัพในการทำ[[ฮอโลคอสต์]]ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีตั้งแต่นายทหารชั้นสัญญาบัตรจนถึงผู้บังคับบัญชาระดับสูง และยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการฆาตกรรมและการสังหารหมู่ชาวยิวและอื่น ๆ ในเขตยึดครอง ซึ่งถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามต่อมวลมนุษยชาติ แต่ถึงอย่างไรก็มีเจ้าหน้าที่นายทหารเยอรมันหลายนายก็ไม่ได้เห็นด้วยกับฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว เช่น นายพลจอมพล[[แอร์วิน รอมเมิล]] เป็นต้นแต่พวกเขากลับทำอะไรไม่ได้เพราะฮิตเลอร์และทหารเอสเอสหน่วยเอ็สเอ็สมีอำนาจเหนือกว่า บางคนทำได้แต่นิ่งเฉยและไม่ให้ความสนใจใดๆหรือยอมปฏิบัติตามคำสั่งอย่างไม่มีเงื่อนไข บางคนก็ได้ให้ความช่วยเหลือแก่ชาวยิวอย่างลับๆ
 
แต่ในช่วงปี ค.ศ. 1943 สถานการณ์สงครามโลกกลับพลิกพลัน กองทัพเวร์มัคท์ได้ริเริ่มปราชัยครั้งใหญ่ให้แก่สหภาพโซเวียตในศึก[[สตาลินกราด]] และสหรัญยิ่งปราชัยเมื่อสหรัฐอเมริกาได้เข้าร่วมสงครามกับสัมพันธมิตรทำ[[การยกพลขึ้นบกที่หากนอร์มังดีนอร์ม็องดี]] ทำให้กองทัพเวร์มัคท์ต้องทำศึกพร้อมกันถึงสองด้านคือ[[แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบตะวันตก]]และ[[แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)|แนวรบตะวันออก]] แม้จะพยายามต้านทานสักเพียงไรแต่ก็ไม่อาจเอาชนะกองทัพขนาดใหญ่แห่งมหึมาของฝ่ายสัมพันธมิตรได้ จนกระทั่งเยอรมนีถูกพิชิตลงได้ในช่วงปี ค.ศ. 1945 หลังจากนั้นเป็นต้นมากองทัพเวร์มัคท์ได้ถูกยุบลงในที่สุด
 
== โครงสร้าง==