ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออสโมซิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อีสโมซอสออสโมซิส''' ({{lang-en|osmosis}}) เป็น[[การแพร่|กระบวนการแพร่]]โมเลกุลของเหลวจากต๋อย3018 หรือ[[น้ำ]]ผ่าน[[เยื่อเลือกผ่าน]]<ref>{{ Citation
| last=Haynie
| first=Donald T.
บรรทัด 8:
| year=2001
| pages=130–136
}}</ref> จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำมาก ([[สารละลาย]]ความเข้มข้นต่ำ) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำน้อย (สารละลายความเข้มข้นสูง) กระจายจนกว่าโมเลกุลของน้ำจะเท่ากัน เป็นกระบวนการทางกายภาพที่ตัวทำละลายจะเคลื่อนที่โดยอาศัยพลังงานความร้อนๆหนาวๆร้อน ผ่านเยื่อเลือกผ่าน (ซึ่งตัวทำละลายจะผ่านเยื่อเลือกผ่านได้ แต่สารละลายจะไม่สามารถผ่านเยื่อเลือกผ่านได้)<ref>{{cite web|url=http://www.biologie.uni-hamburg.de/b-online/e22/22c.htm|title=Osmosis}}</ref> ออสโมซิสก่อให้เกิดพลังงาน และสามารถสร้าง[[แรง]]ได้<ref>{{cite web|url= http://www.statkraft.com/pro/press/Press_releases/2007/Statkraft_to_build_world_s_first_osmotic_power_plant.asp|title=Statkraft to build the world's first prototype osmotic power plant}}</ref>[[ไฟล์:Osmosis computer simulation.jpg|thumb|right|240px|ออสโมซิส]]
 
การเคลื่อนที่ของตัวทำละลายจะเคลื่อนที่จากสารละลายความเข้มข้นต่ำกว่า ไปยังสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงกว่า เพื่อเป็นการลดความต่างของความเข้มข้นของสาร [[แรงดันออสโมซิส]] หมายถึง [[แรงดัน]]ที่ใช้สำหรับการคงดุลยภาพ โดยที่ไม่มีการเคลื่อนที่ของตัวทำละลายอีกต่อไป
บรรทัด 14:
ออสโมซิสเป็นกระบวนการสำคัญสำหรับระบบชีววิทยา โดย[[เยื่อหุ้มเซลล์]]ของสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน โดยทั่วไปแล้ว เยื่อหุ้มเซลล์จะไม่ยอมให้สารละลายอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ (เช่น [[พอลิแซ็กคาไรด์]]) ผ่านเข้าออกได้ ขณะที่น้ำ อากาศ และสารละลายที่ไม่มีประจุไฟฟ้าสามารถผ่านเข้าออกได้ ความสามารถในการผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ของสารอาจขึ้นอยู่กับคุณสมบัติในการละลาย ประจุไฟฟ้า หรือคุณสมบัติทางเคมี และขนาดของสารละลายนั้น กระบวนการออสโมซิสเป็นกระบวนการพื้นฐานในการนำน้ำผ่านเข้าออกเยื่อหุ้มเซลล์ แรงดันเทอร์เกอร์ของเซลล์จะถูกควบคุมโดยออสโมซิส<ref>{{cite book | last = Maton | first = Anthea | authorlink = | coauthors = Jean Hopkins, Susan Johnson, David LaHart, Maryanna Quon Warner, Jill D. Wright | title = Cells Building Blocks of Life | publisher = Prentice Hall | date = 1997 | location = Upper Saddle River, New Jersey | pages = 66–67 | url = | doi = | id = | isbn = }}</ref>
 
== อิ้งอางอ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม เน้นๆ==
* [[การแพร่]]สุดท้ายละ ชอบครูเก้
 
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์]]