ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิบัติการวัลคือเรอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||ภาพยนตร์ซึ่งอิงเนื้อหาของแผนการดังกล่าว ในปี ค.ศ. 2008|ดูที่=ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก}}
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''ปฏิบัติการวาลคิรี''' ({{lang-de|Unternehmen Walküre}}) เป็นแผนปฏิบัติการ[[:en:Continuity of government|ความต่อเนื่องของรัฐบาล]]ในวาระฉุกเฉิน ซึ่งปฏิบัติการนี้ถูกพัฒนาคิดขึ้นโดยกองกำลังรักษาดินแดนแห่งเยอรมนีเยอรมัน เพื่อที่จะดำเนินการปฏิบัติการนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศไว้ให้ได้ ในกรณีที่เกิดเหตุที่อาจทำให้[[พรรคนาซี|ระบบรัฐบาลพลเรือนพรรคนาซี]] ล้มเหลวในความพยายามที่จะควบคุมกิจการพลเรือนฮิตเลอร์เกิดภาวะสุญญากาศ แผนการดังกล่าวแผนฉุกเฉินนี้ได้รับการรับรองจาก[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ผู้ซึ่งฮิตเลอร์ตั้งใจวางแผนการดังกล่าวเตรียมพร้อมไว้สำหรับเพื่อนำมาใช้สถานการณ์ที่เกิดความวุ่นวายในบ้านเมือง ซึ่งที่อาจสืบเนื่องมาเกิดขึ้นจากการทิ้งระเบิดของ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]] หรือการลุกฮือขึ้นก่อจลาจลของผู้ใช้แรงงานจากประเทศที่ถูกยึดครองที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในเยอรมนี
 
อย่างไรก็ดี นายทหารจากกองทัพบกเยอรมัน คือนายพลโท[[:en:Friedrich Olbricht|ฟรีดริช ออโอลบริชต์ริคท์]] และพลตรี[[:en:Henning von Tresckow|เฮนนิง ฟอน เทรสคอลคอว์]] ได้นำแผนการดังกล่าวมาปรับปรุงและดัดแปลงใหม่ เพื่อที่จะใช้ก่อการรัฐประหาร ยึดอำนาจควบคุมหัวเมืองเยอรมนีทั้งหมด ปลดอาวุธหน่วยเอสเอสเอ็สเอ็ส และจับกุมคณะผู้นำรัฐบาลนาซี โดยตั้งเป้าว่าจะใช้แผนการที่ดัดแปลงแล้วแผนวาลคิรีฉบับใหม่นี้หลังจากที่ฮิตเลอร์ถูกลอบสังหารใน[[แผนลับ 20 กรกฎาคม]]แล้ว การความตายของฮิตเลอร์เป็นเรื่องสิ่งจำเป็นสำหรับความสำเร็จของแผนการก่อที่จะทำให้การรัฐประหารนี้ประสบความสำเร็จ เพราะการที่ความตายของฮิตเลอร์ตายแล้วเท่านั้น (มิใช่เพียงถูกจับกุม) จึงจะถือเป็นการปลดปล่อยทหารเยอรมันออกจากพันธะภายใต้คำปฏิญาณตนว่าจะจงรักภักดีต่อฮิตเลอร์ได้ เพื่อให้และหันมาภักดีต่อคณะรัฐประหารแทน แผนการดังกล่าวได้มีการลงมือในปีช่วงบ่ายของวันที่ 20 กรกฎาคม [[ค.ศ. 1944]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จ
 
== แผนการ ==
แผนการดั้งเดิมได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินภายในประเทศ โดยกองเสนาธิการของนายพลฟรีดริช ออโอลบริชต์ริคท์<ref name="Ref-1">Joachim Fest, ''Plotting Hitler's Death: The German Resistance to Hitler, 1933–1945'', 1996, p219</ref> และได้รับการรับรองเห็นชอบจากฮิตเลอร์เอง อันที่จริง แนวคิดในการวางแผนดึงเอากองกำลังสำรองของกองทัพบกเยอรมนีเยอรมันในแนวหลัง (ในดินแดนเยอรมันเองหลังแนวรบ) มาใช้ในการก่อ[[รัฐประหาร]]เคยมีการหยิบยกขึ้นพิจารณากันมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่การปฏิเสธที่จะให้ความร่วมมือในการก่อรัฐประหารของนายพลโทเอก[[:en:Friedrich Fromm|ฟรีดริช ฟรอมม์]] ผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรองและอันเป็นนายทหารคนเดียวที่จะสามารถออกคำสั่งเริ่มปฏิบัติการวาลคิรีได้ถัดลงมาจากฮิตเลอร์ ได้ถือเป็นอุปสรรคต่อคณะรัฐประหารอย่างร้ายแรง แต่กระนั้น หลังจากบทเรียนที่ได้รับมาหลังจาก[[:en:Operation Spark (1940)|ความพยายามลอบสังหารฮิตเลอร์]] ในวันที่ [[13 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1943]] แล้ว นายพลออโอลบริชต์ริคท์รู้สึกว่าแผนการก่อรัฐประหารดั้งเดิมนั้นไม่เพียงพอ และจะต้องมีการดึงเอากองกำลังสำรองมาใช้ในการก่อรัฐประหารด้วยให้ได้ แม้ว่าจะไม่ได้รับความร่วมมือจากนายพลฟรอมม์ก็ตาม
 
แผนการวาลคิรีดั้งเดิมมีเจตนาเพียงที่จะจัดยุทธศาสตร์เพื่อเตรียมความพรั่งพร้อมและความพร้อมรบของกองกำลังสำรองที่มีหน่วยในสังกัดต่างๆ กระจายกันอยู่เท่านั้น แต่นายพลออลบริชต์ได้ดัดแปลงโดยการเพิ่มเติมส่วนที่สองของแผนการดังกล่าวเข้าไป ซึ่งทำให้กลายเป็นการเรียกระดมหน่วยต่างๆ ในกองกำลังสำรองให้มาประกอบกำลังกันโดยเร่งด่วน เพื่อจัดตั้งเป็นกองทัพที่พร้อมสามารถปฏิบัติการรบได้ทันที ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 พันเอกเทรสคอว์พบว่า การดัดแปลงแก้ไขของนายพลออลบริตช์ก็ยังคงไม่เพียงพอ จึงได้ขยายแผนการวาลคิรีออกไปอีก และร่างคำสั่งเพิ่มเติม โดยกำหนดให้มีการออกประกาศลับที่ขึ้นต้นด้วยด้วยประโยค (ลวง) ที่ว่า ''"[[ฟือเรอร์|ท่านผู้นำ]]ฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว! คณะผู้นำพรรคนาซีผู้ทรยศได้พยายามที่จะใช้ประโยชน์จากการณ์นี้โดยการโจมตีเหล่าทหารจากแนวหลัง และยึดอำนาจไว้เอง"'':
แผนการดั้งเดิมได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินภายในประเทศ โดยกองเสนาธิการของนายพลฟรีดริช ออลบริชต์<ref name="Ref-1">Joachim Fest, ''Plotting Hitler's Death: The German Resistance to Hitler, 1933–1945'', 1996, p219</ref> และได้รับการรับรองเห็นชอบจากฮิตเลอร์เอง อันที่จริง แนวคิดในการวางแผนดึงเอากองกำลังสำรองของกองทัพบกเยอรมนีในแนวหลัง (ในดินแดนเยอรมันเองหลังแนวรบ) มาใช้ในการก่อ[[รัฐประหาร]]เคยมีการหยิบยกขึ้นพิจารณากันมาก่อนหน้านี้แล้ว แต่การปฏิเสธที่จะให้ความร่วมมือในการก่อรัฐประหารของนายพลโท[[:en:Friedrich Fromm|ฟรีดริช ฟรอมม์]] ผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรองและนายทหารคนเดียวที่จะสามารถออกคำสั่งเริ่มปฏิบัติการวาลคิรีได้ถัดลงมาจากฮิตเลอร์ ได้เป็นอุปสรรคต่อคณะรัฐประหารอย่างร้ายแรง แต่กระนั้น หลังจากบทเรียนที่ได้รับมาหลังจาก[[:en:Operation Spark (1940)|ความพยายามลอบสังหารฮิตเลอร์]] ในวันที่ [[13 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1943]] แล้ว นายพลออลบริชต์รู้สึกว่าแผนการก่อรัฐประหารดั้งเดิมนั้นไม่เพียงพอ และจะต้องมีการดึงเอากองกำลังสำรองมาใช้ในการก่อรัฐประหารด้วยให้ได้ แม้ว่าจะไม่ได้รับความร่วมมือจากนายพลฟรอมม์ก็ตาม
{{คำพูด|[[ฟือเรอร์|ท่านผู้นำ]]ฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว! พวกผู้นำทรยศของพรรคนาซีกำลังพยายามใช้ประโยชน์จากสถานการณ์นี้โดยการแทงข้างหลังกองทัพ และยึดอำนาจไว้เอง}}
 
คำสั่งอย่างละเอียดได้ถูกยกร่างขึ้น เพื่อเตรียมสำหรับการเข้ายึดครองกระทรวงต่างๆ ของรัฐบาลใน[[เบอร์ลิน|กรุงเบอร์ลิน]] กองบัญชาการใหญ่ของฮิมม์เลอร์ในปรัสเซียตะวันออก สถานีวิทยุและสถานีโทรศัพท์ และกลไกของระบอบนาซีในมณฑลทหารบกต่างๆ และ[[ค่ายกักกัน]]<ref name="Ref-1"/> (ก่อนหน้านี้ เป็นที่เชื่อกันว่าพันเอก[[:en:Claus Schenk von Stauffenberg|เคลาส์ เชงค์ ฟอน สเตาฟเฟนเบิร์ก]]รับผิดชอบต่อแผนการวาลคิรี แต่ในเอกสารที่ถูกค้นพบหลังจากสงครามยุติโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งเผยแพร่ในปี [[ค.ศ. 2007]] ได้ชี้ว่า แผนการดังกล่าวได้รับการพัฒนาขึ้นโดยพันเอกเทรสคอว์ ช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี ค.ศ. 1943<ref> [http://www.atypon-link.com/OLD/doi/pdf/10.1524/VfZg.2007.55.2.331 Peter Hoffmann, "Oberst i. G. Henning von Tresckow und die Staatsstreichpläne im Jahr 1943]</ref>) ข้อมูลทั้งหมดถูกเขียนขึ้นและเก็บรักษาไว้โดยภรรยาและเลขานุการของพันเอกเทรสอคว์ ซึ่งทั้งสองคนใส่ถุงมือเพื่อปิดบังรอยนิ้วมือเอาไว้ตลอดเวลา<ref>Joachim Fest, ''Plotting Hitler's Death: The German Resistance to Hitler, 1933–1945'', 1996, p220</ref>
แผนการวาลคิรีดั้งเดิมมีเจตนาเพียงที่จะจัดยุทธศาสตร์เพื่อเตรียมความพรั่งพร้อมและความพร้อมรบของกองกำลังสำรองที่มีหน่วยในสังกัดต่างๆ กระจายกันอยู่เท่านั้น แต่นายพลออลบริชต์ได้ดัดแปลงโดยการเพิ่มเติมส่วนที่สองของแผนการดังกล่าวเข้าไป ซึ่งทำให้กลายเป็นการเรียกระดมหน่วยต่างๆ ในกองกำลังสำรองให้มาประกอบกำลังกันโดยเร่งด่วน เพื่อจัดตั้งเป็นกองทัพที่พร้อมสามารถปฏิบัติการรบได้ทันที ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 พันเอกเทรสคอว์พบว่า การดัดแปลงแก้ไขของนายพลออลบริตช์ก็ยังคงไม่เพียงพอ จึงได้ขยายแผนการวาลคิรีออกไปอีก และร่างคำสั่งเพิ่มเติม โดยกำหนดให้มีการออกประกาศลับที่ขึ้นต้นด้วยด้วยประโยค (ลวง) ที่ว่า ''"[[ฟือเรอร์|ท่านผู้นำ]]ฮิตเลอร์เสียชีวิตแล้ว! คณะผู้นำพรรคนาซีผู้ทรยศได้พยายามที่จะใช้ประโยชน์จากการณ์นี้โดยการโจมตีเหล่าทหารจากแนวหลัง และยึดอำนาจไว้เอง"''
 
คำสั่งอย่างละเอียดได้ถูกยกร่างขึ้น เพื่อเตรียมสำหรับการเข้ายึดครองกระทรวงต่างๆ ของรัฐบาลใน[[เบอร์ลิน|กรุงเบอร์ลิน]] กองบัญชาการใหญ่ของฮิมม์เลอร์ในปรัสเซียตะวันออก สถานีวิทยุและสถานีโทรศัพท์ และกลไกของระบอบนาซีในมณฑลทหารบกต่างๆ และ[[ค่ายกักกัน]]<ref name="Ref-1"/> (ก่อนหน้านี้ เป็นที่เชื่อกันว่าพันเอก[[:en:Claus Schenk von Stauffenberg|เคลาส์ เชงค์ ฟอน สเตาฟเฟนเบิร์ก]]รับผิดชอบต่อแผนการวาลคิรี แต่ในเอกสารที่ถูกค้นพบหลังจากสงครามยุติโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งเผยแพร่ในปี [[ค.ศ. 2007]] ได้ชี้ว่า แผนการดังกล่าวได้รับการพัฒนาขึ้นโดยพันเอกเทรสคอว์ ช่วงฤดูใบไม้ผลิ ปี ค.ศ. 1943<ref> [http://www.atypon-link.com/OLD/doi/pdf/10.1524/VfZg.2007.55.2.331 Peter Hoffmann, "Oberst i. G. Henning von Tresckow und die Staatsstreichpläne im Jahr 1943]</ref>) ข้อมูลทั้งหมดถูกเขียนขึ้นและเก็บรักษาไว้โดยภรรยาและเลขานุการของพันเอกเทรสอคว์ ซึ่งทั้งสองคนใส่ถุงมือเพื่อปิดบังรอยนิ้วมือเอาไว้ตลอดเวลา<ref>Joachim Fest, ''Plotting Hitler's Death: The German Resistance to Hitler, 1933–1945'', 1996, p220</ref>
 
ใจความหลักของแผนการดังกล่าว คือการหลอกให้กองกำลังสำรองเข้ายึดอำนาจและล้มล้างรัฐบาลพลเรือนยามสงครามของเยอรมนี โดยให้ข้อมูลเท็จว่า หน่วยเอสเอสพยายามจะก่อการรัฐประหารและได้ลอบสังหารฮิตเลอร์แล้ว ปัจจัยที่สำคัญคือ นายทหารระดับล่าง (ผู้ซึ่งแผนการนี้ถือว่าจะเป็นผู้นำแผนการไปปฏิบัติ) จะถูกลวงและกระตุ้นให้กระทำการดังกล่าว จากความเชื่อผิด ๆ ที่ว่า กลุ่มผู้นำรัฐบาลพลเรือนนาซีได้ประกอบพฤติกรรมที่ขาดความจงรักภักดีและทรยศต่อรัฐ ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องล้มล้างลงเสีย เหล่าผู้สมคบคิดในแผนการนี้ตั้งความหวังไว้กับการที่เหล่าทหารที่ได้รับคำสั่งจะยอมทำตามคำสั่ง (หลอก) ของพวกเขาด้วยดี หากคำสั่งดังกล่าวมาจากช่องทางการสั่งการและบังคับบัญชาที่ถูกต้อง กล่าวคือ ผ่านทางกองบัญชาการกองกำลังสำรองมา โดยเฉพาะในสถานการณ์ฉุกเฉินหลังจากฮิตเลอร์ถูกสังหารแล้ว