ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานเทวกรรมรังรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงโปรดฯ ให้สร้างและทรงเปิดสะพานนี้เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 เป็นสะพานที่มีความสวยงามด้วยสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกผสมไทย ได้รับการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2517
 
โดยเป็นสะพานชุดที่สร้างข้ามคลองผดุงกรุงเกษมนี้มีชื่อเรียกคล้องจองกัน คือ [[สะพานเทเวศรนฤมิตร]], [[สะพานวิศุกรรมนฤมาน]], [[สะพานมัฆวานรังสรรค์]], สะพานเทวกรรมรังรักษ์ และ[[สะพานจตุรภักตร์รังสฤษดิ์]] ซึ่งทั้งหมดมีความหมายแปลโดยรวมว่า "สะพานที่สร้างโดยเทพยดา" [ในส่วนของสะพานเทวกรรมรังรักษ์ หมายถึง "สะพานที่พระเทวกรรมสร้าง" ซึ่งเป็นเทพเจ้าองค์หนึ่งตามความเชื่อของไทย ลักษณะคล้ายคลึงกับ[[พระพิฆเนศ]]ตามความเชื่อของฮินดู<ref>{{cite web|url=https://www.matichonweekly.com/column/article_2493|work=มติชนสุดสัปดาห์|first=คมกฤช |last=อุ่ยเต็กเค่ง|title=คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง : ‘พระพิฆเนศวร์’ ที่อินเดียไม่รู้จัก}}</ref> ซึ่งทางความเชื่อของฮินดูไม่มี] เมื่อผ่านสะพานนี้ไปผ่าน[[ถนนกรุงเกษม]]ทางทิศตะวันตกจะถึง[[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ]]บรรจบกับ[[ถนนราชดำเนิน]]<ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=zjxJytj8eSQ|title=CHN_สะพานเทวกรรมรังรักษ์|date=2010-12-21|work=ชื่อนี้สำคัญไฉน?}}</ref>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
*{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=zjxJytj8eSQ|title=CHN_สะพานเทวกรรมรังรักษ์|date=Dec 21, 2010|work=ชื่อนี้สำคัญไฉน?}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|13.760147|100.512890}}