ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รหัสมอร์ส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Printspike (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7358095 สร้างโดย 2001:44C8:4285:ADB7:86E:8B14:3932:C33 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Printspike (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
'''รหัสมอร์ส''' ({{lang-en|Morse code}}) เป็นวิธีการส่งผ่านสารสนเทศข้อความเป็นชุดสัญญาณเสียง ไฟหรือเสียงเคาะ (click) เปิด-ปิดซึ่งผู้ฟังหรือผู้สังเกตที่มีทักษะสามารถเข้าใจได้โดยตรงโดยไม่มีอุปกรณ์พิเศษ รหัสมอร์สระหว่างประเทศเข้ารหัสพยัญชนะละตินพื้นฐานของไอเอสโอ อักษรละตินเพิ่มอีกบ้าง [[ตัวเลขอารบิก]]กระบวนคำสั่งเป็นลำดับสัญญาณสั้นและยาวซึ่งจัดทำไว้เป็นมาตรฐาน เรียก "ดอต" และ "แดช"<ref name='itu-r'>{{cite web |url=http://www.itu.int/rec/R-REC-M.1677-1-200910-I/ |title=International Morse code Recommendation ITU-R M.1677-1 |date=October 2009 |work=itu.int |publisher=International Telecommunication Union |accessdate=23 December 2011}}</ref> มีการขยายพยัญชนะมอร์สสำหรับภาษาธรรมชาตินอกเหนือจากภาษาอังกฤษ เพราะหลายภาษาดังกล่าวใช้มากกว่าอักษรโรมัน 26 ตัว
 
== จุดกำเนิด ==
== ตั้งแกน x และแกน y ที่จุดเริ่มต้น ==
เริ่มต้นขึ้นในราวกลาง ค.ศ. 1830 โดย [[ซามูเอล เอฟ. บี. มอร์ส]] (Samuel F. B. Morse) และ [[อัลเฟรต เวล]] (Alfred Vail) ได้คิดค้นเครื่องส่ง[[โทรเลข]]โดยใช้กระแสไฟฟ้าควบคุม[[สนามแม่เหล็ก]]ของเครื่องรับปลายทางผ่านทางสายส่งสัญญาณ