ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานชุดเฉลิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mugornja (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
บรรทัด 1:
[[ภาพ:BKK Saphan Chaloem La.jpg|thumb|250px|สะพานเฉลิมหล้า 56 หรือสะพานหัวช้าง]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ภาพ:Bridge - panoramio (75).jpg|thumb|250px|ประติมากรรมรูปหัวช้าง]]
'''สะพานชุดเฉลิม''' เป็นสะพานที่[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อบำเพ็ญพระราชกุศลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาเป็นประจำทุกปี นับตั้งแต่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 42 พรรษา ใน พ.ศ. 2438 ถึง พ.ศ. 2453 อันเป็นปีสิ้นรัชกาลรวมทั้งสิ้น 17 สะพาน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นความสำคัญของสะพานข้ามคลองในการสัญจรของประชาชน และเป็นเครื่องประดับพระนครให้สมบูรณ์งดงาม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์เท่าพระชนมวาร วันละ 1 สลึง เป็นค่าก่อสร้างสะพานชุดเฉลิมในแต่ละปี โดยมีกระทรวงโยธาธิการทำหน้าที่ออกแบบและดำเนินการก่อสร้าง และมีสถาปนิกและวิศวกรเป็นชาวต่างประเทศ ทุกสะพานมีแผ่นจารึกชื่อและตราพระปรมาภิไธยย่อ จปร.
 
เส้น 20 ⟶ 21:
# [[สะพานเฉลิมหล้า 56]] สร้างข้ามคลองบางกะปิ หรือ[[คลองแสนแสบ]] ที่[[ถนนพญาไท]] เปิดใช้เมื่อวันที่ 15 [[พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2452]]
 
'''ต่อมาได้พระราชทานทรัพย์ไว้สำหรับสร้างสะพานใน 2 ปีข้างหน้า แต่ได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน สะพานที่ 16 และ 17 จึงมาสำเร็จในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] 2 สะพานดังกล่าว ได้แก่'''
 
16.# [[สะพานเฉลิมเดช 57]] สร้างข้ามคลองหัวลำโพง ที่ปลาย[[ถนนสี่พระยา]]เชื่อมถนนหัวลำโพง (ปัจจุบันคือ [[ถนนพระรามที่ 4]]) หรือบริเวณ[[แยกสามย่าน]] ในปัจจุบัน เปิดใช้เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2453]]
 
17.# [[สะพานเฉลิมสวรรค์ 58]] ข้ามคลองโรงไหม ที่[[ถนนพระอาทิตย์]] เปิดใช้เมื่อวันที่ 23 [[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2455]]
 
ปัจจุบันสะพานชุดเฉลิมทั้ง 17 สะพานนี้ ส่วนใหญ่ถูกรื้อถอนไปแล้ว เนื่องจากมีการขยายถนน และการถมคลองเพื่อสร้างถนนแทนที่
 
'''สำหรับสะพานชุดเฉลิมที่ถูกรื้อถอนไปแล้ว แต่ยังคงปรากฏร่องรอยให้เห็นอยู่ มี 1 สะพาน ได้แก่'''
 
'''#สะพานเฉลิมเผ่า 52''' ยังคงปรากฏเพียงส่วนของราวสะพานที่มีชื่อสะพานจารึกอยู่ในบริเวณริมทางเท้า สามแยก[[แยกเฉลิมเผ่า]] ที่ถนนพระรามที่ 1 หลังจากที่มีการบูรณะครั้งล่าสุดเมื่อ [[พ.ศ. 2506]]
 
'''ส่วนสะพานชุดเฉลิมที่ยังคงปรากฏอยู่และใช้งานได้จนถึงปัจจุบัน มี 3 สะพาน ได้แก่'''
 
'''#สะพานเฉลิมพันธุ์ 53'''
 
'''#สะพานเฉลิมโลก 55'''
 
'''#สะพานเฉลิมหล้า 56''' โดยประชาชนทั่วไปนิยมเรียกว่า '''[[สะพานหัวช้าง''']]
 
{{ต้องการ==อ้างอิง}}==
*{{cite web|work=[[สยามรัฐ]]|url=http://www.siamrath.co.th/web/?q=%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-5|title=สะพานชุดเฉลิมในรัชกาลที่ 5|date=2014-06-22|accessdate=2018-02-25|first=บูรพา|last=โชติช่วง}}
 
'''สะพานเฉลิมหล้า 56''' โดยประชาชนนิยมเรียกว่า '''สะพานหัวช้าง'''
[[หมวดหมู่:สะพานในกรุงเทพมหานคร]]
[[category:รัชกาลที่ 5]]