ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทางพิเศษแห่งประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bp101697 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: เพิ่มเนื้อหาที่เกี่ยวกับรถไฟฟ้า
Bp101697 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 99:
 
== ประวัติ ==
ในช่วงปี [[พ.ศ. 2512]] รัฐบาลของ [[จอมพลถนอม กิตติขจร]] ได้มีการเตรียมเสนอร่างกฎหมายเกี่ยวกับการก่อตั้งหน่วยงานที่ดูแลการก่อสร้างทางพิเศษและรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน<ref>[http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER6/DRAWER004/GENERAL/DATA0000/00000004.PDF ประวัติ รฟม.ข้อมูลทั่วไปของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]</ref>ซึ่งทางรัฐบาลได้จัดตั้งคณะกรรมการขึ้นศึกษาผลกระทบในการก่อสร้างทางพิเศษแต่ด้วยอุปสรรคหลายอย่างทำให้รัฐบาลไม่สามารถเสนอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ [[สภาผู้แทนราษฎร]] ได้จนกระทั่งเกิดการปฏิวัติตัวเองของจอมพลถนอมเมื่อวันที่ [[17 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2514]]
 
จนกระทั่งวันที่ [[27 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2515]] จอมพลถนอมในฐานะประธาน [[สภาบริหารคณะปฏิวัติ]] ได้ลงนามในประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๙๐ เรื่องจัดตั้งการทางพิเศษแห่งประเทศไทยซึ่งได้ลงประกาศใน [[ราชกิจจานุเบกษา]] เมื่อวันที่ [[30 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2515]] แต่ทางการทางพิเศษได้ถือเอาวันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันก่อตั้งองค์กรโดยในวันที่ [[27 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2516]] [[คณะรัฐมนตรี]] ได้มีมติแต่งตั้งนาย[[ประสิทธิ์ อุไรรัตน์]] เป็นผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทยคนแรก
บรรทัด 105:
ในปี [[พ.ศ. 2530]] คณะรัฐมนตรีและการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้เสนอร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 ซึ่งมีสาระสำคัญคือให้ยกเลิกบทบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ต่อ [[สภาผู้แทนราษฎร]] และได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้เมื่อวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2530]] <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2530/A/164/36.PDF พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๙๐ ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๕ พ.ศ. ๒๕๓๐] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๔ ตอน ๑๖๔ ก พิเศษ หน้า ๓๖ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ </ref>
 
ในปี [[พ.ศ. 2535]] มีการแยกจัดตั้ง [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย|องค์การรถไฟฟ้ามหานคร]] เพื่อเป็นหน่วยงานที่ดูแลรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนโดยเฉพาะอันเนื่องมาจากการจราจรที่ติดขัดอย่างหนักในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเพื่อความคล่องตัวในการจัดการการก่อสร้างและการบริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
 
ต่อมาในปี 2550 คณะรัฐมนตรีและการทางพิเศษแห่งประเทศไทยได้เสนอร่างพระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเข้าสู่[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2549|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ซึ่งได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2551 โดยสาระสำคัญของพระราชบัญญัติฉบับนี้คือให้ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2515 และ พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2530 รวมถึงการแก้ไขวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งซึ่งไม่เข้ากับยุคสมัย
บรรทัด 133:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
==ดูเพิ่ม==
 
*[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]]
{{กระทรวงคมนาคมของไทย}}
{{รัฐวิสาหกิจไทย}}