ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 90:
พระเจ้าตากทรงรวบรวมกำลังพลจนมีจำนวน 5,000 นายแล้วยกกองทัพเรือออกจากเมืองจันทบุรี ล่องมาตามฝั่งทะเลใน[[อ่าวไทย]] จนถึงปาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ต่อสู้จนยึดเมืองธนบุรีคืนจากพม่าได้ และจับนายทองอิน เจ้าเมืองธนบุรีซึ่งพม่าแต่งตั้งให้นั้นประหารชีวิต<ref>สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ. p. 401-402.</ref><ref>พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์, '''สามกรุง''' (พระนคร:คลังวิทยา ๒๕๑๑) หน้า ๙๘.</ref> ต่อจากนั้นได้ยกกองทัพเรือต่อไปถึงกรุงศรีอยุธยา เข้าโจมตีค่ายโพธิ์สามต้นจนสามารถขับไล่ทหารพม่าออกจากอาณาจักรได้และสามารถกอบกู้กรุงศรีอยุธยาจากการยึดครองได้เมื่อวันศุกร์ เดือน 12 ขึ้น 15 ค่ำ จุลศักราช 1129 ปีกุน นพศก เวลาบ่ายโมงเศษ ซึ่งตรงกับวันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 เวลาประมาณ 13.00 น. โดยใช้เวลาเพียง 7 เดือนหลังจากเหตุการณ์เสียกรุงศรีอยุธยา<ref>{{cite book|title=A History of Siam|year=1924|author=W.A.R. Wood|publisher=Chiang Mai|pages=|isbn=}} p. 253</ref>
 
== พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา ==
== ปราบดาภิเษก ==
 
=== ปราบดาภิเษก ===
[[ไฟล์:KingTaksin's coronation.jpg|thumb|right|200px|สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงปราบดาภิเษกเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2310 ณ พระราชวังกรุงธนบุรี]]
ด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์และการเมืองเป็นสำคัญ<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 143.</ref> ทำให้เจ้าตากมา "ยับยั้ง" อยู่ ณ เมืองธนบุรี ซึ่งมีลักษณะเป็นราชธานีไม่ถาวร<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 143-145.</ref> ก่อนหน้านั้น เมืองธนบุรีถูกทิ้งร้าง มีต้นไม้ขึ้นและซากศพทิ้งอย่างเกลื่อนกลาด ทำให้ต้องมีการเกณฑ์แรงงานจัดการพื้นที่ขึ้นมาใหม่<ref>นิธิ เอียวศรีวงศ์. หน้า 146.</ref> เจ้าตากยังมีรับสั่งให้คนไปอัญเชิญพระบรมวงศานุวงศ์ในสมัยตอนปลายอยุธยาจาก[[จังหวัดลพบุรี|เมืองลพบุรี]]มายังเมืองธนบุรี และได้ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าเอกทัศตามโบราณราชประเพณี<ref name="พันจันทนุมาศ (เจิม)">[https://ia601301.us.archive.org/20/items/anupongchaiwong_gmail_50_201508/ประชุมพงศาวดารกรุงธนบุรี%20%2865%29.pdf พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]</ref><ref>สุนทรภู่, '''นิราศสุนทรภู่ ตอน[[นิราศพระบาท]]''' (พระนคร:คุรุสภา 2519) หน้า 123-124.</ref>