ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ได้ทั้งกรุงเทพไม่ใช้แค่ย่านไชน่าทาว
บรรทัด 3:
'''ไชน่าทาวน์, กรุงเทพมหานคร''' เป็นหนึ่งใน[[ไชน่าทาวน์]] หรือชุมชนจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ก่อตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2325 พร้อมกับการสถาปนา[[กรุงรัตนโกสินทร์]] หรือ[[กรุงเทพมหานคร]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] โดย[[ชาวจีนโพ้นทะเล|ชาวจีนอพยพ]]ที่นี่ส่วนใหญ่จะเป็น[[ชาวแต้จิ๋ว]] โดยเมื่อมีการ[[พระบรมมหาราชวัง]] จึงโปรดเกล้าฯให้ชาวจีนเหล่านี้ที่เดิมเคยอยู่รอบ ๆ ได้ย้ายไปยัง[[สำเพ็ง]] และก่อให้เกิดเป็นชุมชนจีนเกิดที่นี่ ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ในปี พ.ศ. 2435 มีการตัด[[ถนนเยาวราช]]ขึ้น จึงทำให้ถนนเยาวราชเป็นหลักของชุมชนจีน<ref name="ไชน่าทาวน์" /> และได้กลายเป็นเขตการค้าหลักของกรุงเทพฯ รวมทั้งเป็นย่านสีแดงแหล่งค้าฝิ่น โรงละครไนท์คลับและบ่อนการพนัน<ref name="Contestation">{{cite book|last1=Sirisrisak|first1=Tiamsoon|editor1-last=van der Veer|editor1-first=Peter|title=Handbook of Religion and the Asian City: Aspiration and Urbanization in the Twenty-First Century|date=2015|publisher=Univ of California Press|isbn=9780520281226|pages=168-185|chapter=The Urban Development and Heritage Contestation of Bangkok's Chinatown}}</ref> ปัจจุบันไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในพื้นที่[[เขตสัมพันธวงศ์]] รวมถึงย่านต่าง ๆ ใกล้เคียง คือ [[ตลาดน้อย]], [[คลองถม]], [[เวิ้งนาครเกษม]] ตลอดความยาวของ[[ถนนเจริญกรุง]]<ref name="ไชน่าทาวน์">{{cite web|url=https://mgronline.com/drama/detail/9490000011532|title=ย้อนอดีตไชน่าทาวน์เมืองไทย ครึ่งศตวรรษเยาวราช|work=[[ผู้จัดการออนไลน์]]|date=2006-01-27|accessdate=2018-02-24|first=พรเทพ|last= เฮง}}</ref>
 
เดิมบริเวณนี้เป็นกำแพงพระบรมมหาราชวังรอบนอก ซึ่งอยู่เลยอาณาเขต[[เกาะรัตนโกสินทร์]] ได้กลายเป็นศูนย์กลางการค้าของกรุงเทพมหานคร ในช่วงยุคปลาย พ.ศ. 2344 ถึงต้นยุค พ.ศ. 2443 ตั้งแต่นั้นมา ไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานครจึงมีความโดดเด่นขึ้นมา ในส่วนของกิจกรรมเชิงพาณิชย์ก็ได้ขยายไปที่อื่นตามการขยายตัวของเมือง ตอนนี้ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมจีนโดยมีร้านค้าจำนวนมากขายสินค้าแบบดั้งเดิม อีกทั้งและเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่าสำนักข่าว[[ซีเอ็นเอ็น]] ยังคงจัดอันดับให้กรุงเทพมหานครเป็นจุดหมายปลายทางของ “สวรรค์แห่งอาหารริมทาง” โดยเฉพาะหรือเมืองที่มี[[อาหารริมทาง]] ที่ได้รับการยกย่องจากระดับนานาชาติว่าเป็นแหล่งของอาหารริมทางที่ดี(Street Food) ที่สุดในโลกถึง 2 ปีซ้อน ในปี พ.ศ. 2559 และพ.ศ. 2560<ref>[https://mgronline.com/politics/detail/9600000026993 CNN ยก กทม.เบอร์ 1 อาหารริมทาง]</ref> จากนั้นทางกรุงเทพมหานคร จึงได้ริเริ่มปรับปรุงย่านอาหารริมทางโดยนำร่องในพื้นที่ 2 แห่ง ได้แก่ [[ถนนเยาวราช]] และ[[ถนนข้าวสาร]]<ref>{{cite web|title=อะไรอยู่ใน Street Food|url=http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/753846|first=2017-05-08|accessdate=2018-02-24|work=[[กรุงเทพธุรกิจ]]| first=อรรถภูมิ|last= อองกุลนะ}}</ref>
 
ในอนาคตอันใกล้ ความเจริญในแบบสมัยใหม่กำลังจะเข้ามาสู่ไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร ทั้ง[[MRT|สถานีรถไฟใต้ดิน]] ซึ่งได้แก่ [[สถานีวัดมังกร]] และ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน |สถานีรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน]] เป็นที่น่ากังวลเกี่ยวกับชุมชนเก่าแก่ที่จะได้รับผลกระทบ ที่กำลังจะถูกความเจริญเหล่านี้เข้ามาแทนที่<ref name=มูล/>
บรรทัด 11:
*[[วงเวียนโอเดียน]]: วงเวียนที่เป็นจุดเริ่มต้นของถนนเยาวราช ที่ตั้งของไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นวงเวียนน้ำพุ ปัจจุบันมีซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งมีอักษรจารึกทั้งภาษาไทยและภาษาจีนใน 2 ด้าน โดยสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542
*[[สำเพ็ง]]: หรือในชื่ออย่างเป็นทางการว่า [[ซอยวานิช 1]] ชุมชนดั้งเดิมของไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งการค้าที่คึกคักทั้งเวลากลางวันและกลางคืน โดยมากจะเป็นเครื่องประดับ, กิฟต์ช้อป หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าเล็ก ๆ น้อย ๆ
*ชุมชนเจริญไชย: ชุมชนเก่าแก่ในย่านไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในซอยเจริญกรุง 23 เป็นแหล่งจำหน่าย[[กระดาษเงินกระดาษทอง]] และเครื่องเซ่นไหว้ต่าง ๆ รวมถึงชุดแต่งงานในแบบประเพณีจีนดั้งเดิม และ[[เทศกาลไหว้พระจันทร์]] ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ บ้านเก่าเล่าเรื่อง พิพิธภัณฑ์ที่เป็นศูนย์ข้อมูลของชาวจีนในประเทศไทย แต่เป็นชุมชนที่ได้รับผลกระทบการสร้างสถานีรถไฟฟ้า<ref name=มูล>{{cite web|url=http://www.web.greenworld.or.th/greenworld/local/2192|title=นางเลิ้ง เจริญไชย : ชุมชนเมืองบนรางความเปลี่ยนแปลง|date=2013-05-14|accessdate=2018-02-24|work=มูลนิธิโลกสีเขียว}}</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/travel/viewnews.aspx?NewsID=9580000103097|work=ผู้จัดการออนไลน์|date=2015-09-11|accessdate=2018-02-24|author=หนุ่มลูกทุ่ง|title=เดินเล่น “ชุมชนเจริญไชย” ชมของไหว้พระจันทร์อลังการ ในย่านขายเก่าแก่ที่สุดของเมืองกรุง}}</ref>
*[[ตลาดน้อย]]: ย่านเก่าแก่ที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของอาคารประวัติศาสตร์หลายแห่ง เช่น [[โบสถ์กาลหว่าร์]] หรือ[[ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย]]
*[[ถนนทรงวาด]]: ถนนริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของท่าเรือบรรทุกสินค้าจำนวนมาก ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาคารเก่าแก่ที่ทรงคุณค่ามากมาย และยังมี[[graffiti|ศิลปะบนผนัง]] ที่สร้างสรรค์โดยศิลปินชาวตะวันตกอีกด้วย