ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไชนาทาวน์ (กรุงเทพมหานคร)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
*[[วงเวียนโอเดียน]]: วงเวียนที่เป็นจุดเริ่มต้นของถนนเยาวราช ที่ตั้งของไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นวงเวียนน้ำพุ ปัจจุบันมีซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งมีอักษรจารึกทั้งภาษาไทยและภาษาจีนใน 2 ด้าน โดยสร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542
*[[สำเพ็ง]]: หรือในชื่ออย่างเป็นทางการว่า [[ซอยวานิช 1]] ชุมชนดั้งเดิมของไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งการค้าที่คึกคักทั้งเวลากลางวันและกลางคืน โดยมากจะเป็นเครื่องประดับ, กิฟต์ช้อป หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าเล็ก ๆ น้อย ๆ
*ชุมชนเจริญไชย หรือ ซอยเจริญกรุง 23: ชุมชนเก่าแก่ในย่านไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในซอยเจริญกรุง 23 เป็นแหล่งจำหน่าย[[กระดาษเงินกระดาษทอง]] และเครื่องเซ่นไหว้ต่าง ๆ รวมถึงชุดแต่งงานในแบบประเพณีจีนดั้งเดิม และ[[เทศกาลไหว้พระจันทร์]] ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ บ้านเก่าเล่าเรื่อง พิพิธภัณฑ์ที่เป็นศูนย์ข้อมูลของชาวจีนในประเทศไทย แต่เป็นชุมชนที่ได้รับผลกระทบการสร้างสถานีรถไฟฟ้า<ref name=มูล>{{cite web|url=http://www.web.greenworld.or.th/greenworld/local/2192|title=นางเลิ้ง เจริญไชย : ชุมชนเมืองบนรางความเปลี่ยนแปลง|date=2013-05-14|accessdate=2018-02-24|work=มูลนิธิโลกสีเขียว}}</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.manager.co.th/travel/viewnews.aspx?NewsID=9580000103097|work=ผู้จัดการออนไลน์|date=2015-09-11|accessdate=2018-02-24|author=หนุ่มลูกทุ่ง|title=เดินเล่น “ชุมชนเจริญไชย” ชมของไหว้พระจันทร์อลังการ ในย่านขายเก่าแก่ที่สุดของเมืองกรุง}}</ref>
*[[ตลาดน้อย]]: ย่านเก่าแก่ที่อยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของไชน่าทาวน์ กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของอาคารประวัติศาสตร์หลายแห่ง เช่น [[โบสถ์กาลหว่าร์]] หรือ[[ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย]]
*[[ถนนทรงวาด]]: ถนนริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของท่าเรือบรรทุกสินค้าจำนวนมาก ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาคารเก่าแก่ที่ทรงคุณค่ามากมาย และยังมี[[graffiti|ศิลปะบนผนัง]] ที่สร้างสรรค์โดยศิลปินชาวตะวันตกอีกด้วย