ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฮัมมิงเบิร์ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ฮัมมิงเบิร์ด'''เป็นนกซึ่งมีถื่นที่อยู่ในทวีปอเมริกา ประ...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Automatic taxobox
|taxon = Trochilidae
|fossil_range = [[Rupelian]] {{fossilrange|30|0}}
|image = Trinidad and Tobago hummingbirds composite.jpg
|image_caption = Four hummingbirds<br>from [[Trinidad and Tobago]]
| authority = [[Nicholas Aylward Vigors|Vigors]], 1825
| subdivision_ranks = Subfamilies
| subdivision =
[[Hermit (hummingbird)|Phaethornithinae]]<br />
[[Trochilinae]]<br />
For a taxonomic list of genera, see:
* [[List of hummingbird genera]]
For an alphabetic species list, see:
* [[List of hummingbirds]]
}}
'''ฮัมมิงเบิร์ด'''เป็น[[นก]]ซึ่งมีถื่นที่อยู่ใน[[ทวีปอเมริกา]] ประกอบเป็นวงศ์ '''Trochilidae''' จัดเป็นนกเล็กที่สุดวงศ์หนึ่ง โดยชนิดส่วนใหญ่มีความยาวได้ 7.5–13 เซนติเมตร [[ฮัมมิงเบิร์ดผึ้ง]] นกชนิดเล็กที่สุดเท่าที่มีอยู่เป็นฮัมมิงเบิร์ด มีขนาด 5 เซนติเมตร และน้ำหนักน้อยกว่า 2.0 กรัม
ฮัมมิงเบิร์ดได้ชื่อนี้เพราะเสียงฮัมที่เกิดจากปีกที่ตีกันซึ่งกระพือด้วยความถี่สูงที่มนุษย์ได้ยิน พวกมันลอยอยู่กลางอากาศโดยมีอัตรากระพือปีกสูงตั้งแต่ 12 ครั้งต่อวินาทีในชนิดขนาดใหญ่ จนถึงกว่า 80 ครั้งต่อวินาทีในชนิดขนาดเล็ก ๆ บางชนิด ในบรรดาชนิดที่เคยวัดในอุโมงค์ลม ความเร็วสูงสุดเกิน 15 เมตรต่อวินาที (54 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) และบางชนิดดำด้วยความเร็ว 22 เมตรต่อวินาที (79 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)<ref>{{Cite journal
| last1 = Clark | first1 = C. J.
| last2 = Dudley | first2 = R.
| doi = 10.1098/rspb.2009.0090
| title = Flight costs of long, sexually selected tails in hummingbirds
| journal = Proceedings of the Royal Society B: Biological Sciences
| volume = 276
| issue = 1664
| pages = 2109–2115
| year = 2009
| pmid = 19324747
| pmc =2677254
}}</ref><ref>{{cite book|vauthors=Ridgely RS, Greenfield PG |year=2001|title=The Birds of Ecuador, Field Guide|edition=1|publisher=Cornell University Press|isbn=0-8014-8721-8}}</ref>
 
ฮัมมิงเบิร์ดมี[[เมแทบอลิซึม]]สูงกว่า[[สัตว์เลือดอุ่น]]ชนิดใด<ref เพื่ออนุรักษ์พลังงานเมื่อขาดแคลนอาหาร และในเวลากลางคืนเมื่อไม่ได้ออกหาอาหาร พวกมันสามารถเข้าสู่ภาวะกระตุ้นยาก (torpor) ซึ่งคล้ายกับ[[การจำศีล]] โดยชะลออัตราเมแทบอลิซึมเหลือ 1/15name="suarez">{{Cite ของอัตราปกติjournal
| pmid = 1612136
| year = 1992
| author1 = Suarez
| first1 = R. K.
| title = Hummingbird flight: Sustaining the highest mass-specific metabolic rates among vertebrates
| journal = Experientia
| volume = 48
| issue = 6
| pages = 565–70
| doi=10.1007/bf01920240
}}</ref> เพื่ออนุรักษ์พลังงานเมื่อขาดแคลนอาหาร และในเวลากลางคืนเมื่อไม่ได้ออกหาอาหาร พวกมันสามารถเข้าสู่ภาวะกระตุ้นยาก (torpor) ซึ่งคล้ายกับ[[การจำศีล]] โดยชะลอ[[อัตราเมแทบอลิซึม]]เหลือ 1/15 ของอัตราปกติ<ref>{{cite web|url=http://nationalzoo.si.edu/scbi/migratorybirds/webcam/hummingbirds.cfm|title=Hummingbirds|publisher=Nationalzoo.si.edu|accessdate=2013-04-01}}</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}