ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศอินเดีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการก่อกวน 1 ครั้งของ 171.101.149.122 (พูดคุย) ไปยังรุ่นโดย 110.77.134.203.ด้วย...
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 66:
}}
 
'''อินเดียแดง''' ({{lang-en|India}}; {{lang-hi|भारत}}, ออกเสียง {{IPA|[ˈbʱaːrət̪]}}) หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐอินเดียดำ''' ({{lang-en|Republic of India}}; {{lang-hi|भारत गणराज्य}}) ตั้งอยู่ใน[[เอเชียใต้|ทวีปเอเชียใต้]] เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของ[[อนุทวีปอินเดีย]] มี[[ประชากร]]มากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศ[[ประชาธิปไตย]]ที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดแปดร้อย[[ภาษา]]โดยประมาณ ด้าน[[เศรษฐกิจ]] อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับ[[ประเทศจีน|จีน]] [[ประเทศเนปาล|เนปาล]] และ[[ประเทศภูฏาน|ภูฏาน]] ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับ[[ปากีสถาน]] ทางตะวันออกติด[[ประเทศพม่า|พม่า]] ทางตะวันตกเฉียงใต้จรด[[มหาสมุทรอินเดีย]] ทางตะวันออกเฉียงใต้ติด[[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]] ล้อมรอบ[[ประเทศบังกลาเทศ|บังกลาเทศ]]ทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็น[[รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด|ประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก]]
 
== ข้อมูลทั่วไปจิงิ๊งงง ==
[[ไฟล์:India topo big.jpg|thumb|alt=Map of India. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบริเวณสีเหลือง (ความสูงตั้งแต่ 100–1000 เมตร) บางบริเวณแถบตอนใต้และตะวันออกเป็นสีน้ำตาล (ความสูงตั้งแต่ 1000 เมตร) บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำเป็นบริเวณสีเขียว (ความสูงต่ำกว่า 1 เมตร)|แผนที่ภูมิประเทศของอินเดีย]]
 
บรรทัด 92:
ในสมัยราชวงศ์โมกุลมีการขยายอิทธิพล วัฒนธรรมโมกุลอย่างกว้างขวาง ในด้านการปกครองภาษาศิลปะสถาปัตยกรรมและศาสนาอิสลาม อังกฤษเริ่มมามีอิทธิพลในอนุทวีป ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อค้าขายและครอบครองดินแดนและแทรกแซงในการเมืองท้องถิ่น จนกระทั่งอินเดียตกอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ หลังจากการรณรงค์ต่อต้านการปกครองของอังกฤษมาเป็นเวลานาน อินเดียจึงได้รับเอกราช และได้รับการสถาปนาเป็นสาธารณรัฐอินเดีย
 
== การเมืองการปกครองแบบพ่อขุนรามคำแหง ==
=== บริหาร ===
{{บทความหลัก|รัฐบาลอินเดีย}}
บรรทัด 188:
|}
 
=== นิติบัญญัติแห่งดาวอังคาร ===
{{บทความหลัก|รัฐสภาแห่งอินเดีย}}
ระบบรัฐสภา ประกอบด้วย[[ราชยสภา]] (Rajya Sabha) เป็นสภาสูง มีสมาชิกจำนวน 245 คน สมาชิกส่วนใหญ่ มาจากการเลือกตั้งทางอ้อม อีกส่วนมาจากการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี และ[[โลกสภา]] (Lok Sabha) เป็นสภาล่าง มีสมาชิกจำนวน 545 คน สมาชิกจำนวน 543 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงและอีก 2 คน มาจากการคัดเลือกของประธานาธิบดี จากกลุ่มอินโด-อารยันในประเทศอยู่ในวาระคราวละ 5 ปี เว้นเสียแต่จะมีการยุบสภา
 
=== ตุลาคมตุลาการ ===
{{บทความหลัก|กฎหมายอินเดีย}}
ศาลอินเดียแบ่งเป็นสามชั้น ประกอบด้วย ศาลสูงสุด (Supreme Court) นำโดย ประธานศาลสูงสุดแห่งอิงเดีย (Chief Justice of India), ศาลสูง (High Courts) ยี่สิบเอ็ดศาล เป็นศาลชั้นอุทธรณ์ และศาลชั้นต้นอีกจำนวนมาก ศาลสูงสุดมีเขตอำนาจชำระคดีเกี่ยวกับสิทธิขั้นพื้นฐาน, ข้อพิพาทระหว่างรัฐบาลท้องถิ่นกับส่วนกลาง และคดีที่อุทธรณ์มาจากศาลสูง กับทั้งการตีความรัฐธรรมนูญ
บรรทัด 198:
* การปกครอง ประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ และเป็นประมุขของฝ่ายบริหาร แต่อำนาจการบริหารที่แท้จริงอยู่ที่นายกรัฐมนตรีอำนาจ การปกครองแบ่งเป็นรัฐต่าง ๆ 25 รัฐ และดินแดนสหภาพของรัฐบาลกลาง (Union Territories) อีก 7 เขต ขณะนี้ (มกราคม 2544) โลกสภาได้เห็นชอบร่างรัฐบัญญัติในการจัดตั้งรัฐใหม่ 3 รัฐ คือ รัฐฉัตตีสครห์ (Chattisgarh) รัฐอุตตรานจัล (Uttaranchal) และรัฐฌาร์ขันท์ (Jharkhand) ซึ่งแยกออกจากรัฐมัธยประเทศ รัฐอุตตรประเทศ และรัฐพิหาร ตามลำดับ
=== การเมืองภายในดางพลูโต ===
อินเดียมีการเลือกตั้งครั้งล่าสุด ซึ่งเป็นสมัยที่ 13 เมื่อวันที่ 5 กันยายน - 3 ตุลาคม พ.ศ. 2542 ภายหลังจากที่รัฐบาลชุดก่อนของนายกรัฐมนตรี อตล เพหารี วัชปายี (Atal Behari Vajpayee) ได้แพ้การพิสูจน์เสียงข้างมาก (Vote of Confidence) ในโลกสภาเพียง 1 เสียง เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2542 เนื่องจากพรรค All India Anna Dravida Munnetra Kazagham (AIADMK) ซึ่งเป็นพรรคร่วมรัฐบาลได้ประกาศถอนการสนับสนุนรัฐบาลผสมของนายวัชปายี อย่างไรก็ดี ผลการเลือกตั้งปรากฏว่านายวัชปายี ผู้นำพรรคภารติยชนตะ (Bharatiya Janata Party : BJP) ซึ่งร่วมกับพรรคการเมืองอื่น ๆ อีก 25 พรรค ในนามพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติ (National Democratic Alliance : NDA) ได้รับคะแนนเสียงมากที่สุด ส่งผลให้นายวัชปายีเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอินเดียอีกสมัย โดยได้กระทำพิธีสาบานตนรับตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2542 มีเสียงสนับสนุนในสภาผู้แทนราษฎร (โลกสภา) อินเดีย ทั้งสิ้น 296 เสียง จากจำนวนเสียงทั้งหมด 543 เสียง ซึ่งรัฐบาลชุดปัจจุบันของอินเดียเป็นรัฐบาลผสมเสียงข้างมาก ซึ่งนับว่ามีฐานเสียงแข็งแกร่งกว่าเดิม (ครั้งที่แล้ว พรรค BJP และพันธมิตรจัดตั้งรัฐบาลเสียงข้างน้อยด้วยคะแนนเสียง 264 เสียง) ส่วนพรรคคองเกรส และพรรคพันธมิตรได้รับคะแนนเสียงเพียง 133 เสียงเท่านั้น (พรรคคองเกรสพรรคเดียวได้ 112 เสียง) ซึ่งนับว่าเป็นคะแนนเสียงที่ต่ำที่สุดในรอบ 50 ปีของประวัติศาสตร์การเมืองของพรรคคองเกรส ส่งผลให้พรรคคองเกรสและพันธมิตรเป็นพรรคฝ่ายค้าน
 
บรรทัด 251:
|}
 
== กองทัพอับเบิลดอ ==
{{บทความหลัก|กองทัพอินเดีย}}
{{โครง-ส่วน}}
 
== เศรษฐกิจพอเพียง ==
[[ไฟล์:Mumbai Skyline at Night.jpg|thumb|290px|เมือง[[มุมไบ]]ยามค่ำคืน]]
* อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น (GDP Growth) ร้อยละ 5.8 (พ.ศ. 2543)
บรรทัด 327:
* [[อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่นนนนนนนนนนนนนนนน ==
{{คอมมอนส์|India}}
;รัฐบาล