ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตลาดโบ๊เบ๊"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
ตลาดโบ๊เบ๊ เดิมเป็นชุมชนที่เกิดขึ้นราว พ.ศ. 2470 ก่อน[[สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย|สงครามโลกครั้งที่สอง]] ชาวชุมชนตรงนี้มีอาชีพที่หลากหลาย เช่น ย้อมผ้า หรือขายชา, กาแฟ หรือน้ำมะพร้าว ต่อมามีกลุ่มพ่อค้าแม่ค้าชาวจีนตั้งแผงขายของกันอยู่ในบริเวณถนนดำรงรักษ์ (ตรอกขี้เถ้า) โดยนำสินค้าเครื่องอุปโภคบริโภคสารพัดชนิดมาวางขายกันแบบแบกะดิน บริเวณลาน[[วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร]]ด้านติดกับ[[คลองแสนแสบ]] จนกระทั่งเกิดสงครามโลก สินค้าอุปโภคบริโภคขาดเแคลนเนื่องจากภาวะสงคราม เช่น เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม จึงมีการนำมาขาย เสื้อผ้าที่นำมาขายระยะแรกส่วนหนึ่งเป็นเสื้อผ้าของผู้เสียชีวิตจากการทิ้งระเบิดในสงคราม โดยนำมาซักทำความสะอาดและขายลักษณะแบกะดิน หรือเสื้อผ้ามืองสองที่ใช้แล้ว จึงทำให้มีราคาถูกมาก และได้ย้ายที่ขายมาเป็นริมทางรถไฟข้างวัด จนกลายมาเป็นตลาดอย่างถาวร<ref name=โบ๊/> ต่อมาเมื่อมีพ่อค้าแม่ค้าเพิ่มมากขึ้นจนพื้นที่ขายไม่พอทำให้บางส่วนต้องอาศัยพาดผ้ากับแขนแล้วเดินขายให้ลูกค้าทั่วไป เมื่อตลาดเริ่มคึกคักจนเป็นที่รู้จักมากขึ้นจึงได้เปลี่ยนลักษณะการขายแบกะดินมาเป็นแผงลอย และ[[อาคารพาณิชย์]]ดังเช่นปัจจุบัน
 
โดยคำว่า "ชื่อตลาดโบ๊เบ๊" ใน[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน]]ได้ให้นิยามไว้ว่า "ว. มีเสียงเอ็ดอึงจนฟังไม่ได้ศัพท์."<ref>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542</ref> สันนิษฐานว่าเป็นชื่อที่เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "บ๊งเบ้ง" โดยชื่อนี้มีที่มาจากอดีตขณะที่ยังเป็นตลาดขายเสื้อผ้าเก่าอยู่ ผู้คนที่มาค้าขายมักจะส่งเสียงดังหนวกหูจนกระทั่งแถบนี้ได้ชื่อเรียกว่า "ตลาดบ๊งเบ้ง"<ref name=โบ๊>{{cite web|work=[[ผู้จัดการออนไลน์]]|author=หนุ่มลูกทุ่ง|date=2011-06-14|url=http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9540000072484|accessdate=2018-02-17|title=เที่ยว“โบ๊เบ๊” ต้องมนต์เสน่ห์ชุมชนเก่า
}}</ref>
 
ทั้งนี้คำว่า "โบ๊เบ๊" ใน[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน]]ได้ให้นิยามไว้ว่า ''"[[คำวิเศษณ์|ว.]] มีเสียงเอ็ดอึงจนฟังไม่ได้ศัพท์."''<ref>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542</ref>
 
ในย่านตลาดโบ๊เบ๊ ตรงข้ามกับตลาดโบ๊เบ๊สะพาน 4 คือ [[มัสยิดมหานาค]] อันเป็น[[มัสยิด]]และชุมชนชาวมุสลิมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ติดกับคลองมหานาค ใกล้กับสะพานเจริญราษฎร์ 32<ref>{{cite web|url=http://lek-prapai.org/home/view.php?id=5137|work=มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์|first= วลัยลักษณ์|last= ทรงศิริ|date=2016-04-26|accessdate=2018-02-17|title="ชุมชนมุสลิมมหานาค" (๑)}}</ref><ref>{{cite web|url=http://lek-prapai.org/home/view.php?id=5138|work=มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์|first= วลัยลักษณ์|last= ทรงศิริ|date=2016-04-26|accessdate=2018-02-17|title="ชุมชนมุสลิมมหานาค" (๒)}}</ref>