ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศแคนาดา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 15:
|leader_title1 = ประมุข
|leader_name1 = [[สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร]]
|leader_title2 = [[ข้าหลวงต่างพระองค์แห่งผู้สำเร็จราชการแคนาดา|ผู้สำเร็จราชการ]]
|leader_name2 = [[จูลี พาแย็ต ]]<ref>https://mgronline.com/entertainment/detail/9600000109026</ref>
|leader_title3 = [[นายกรัฐมนตรีแคนาดา|นายกรัฐมนตรี]]
|leader_name3 = [[จัสติน ทรูโด]]<ref>http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1445344037</ref>
|sovereignty_type = [[ประวัติศาสตร์แคนาดา|เอกราช]]
|sovereignty_note = จาก [[สหราชอาณาจักร]]
|established_event1 = [[พระราชบัญญัติบริติชนอร์ทอเมริกา|พ.ร.บ. บริติชนอร์ทอเมริกา]]
|established_event2 = [[บทกฎหมายเวสต์มินสเตอร์ คริสต์ศักราช 1931|บทกฎหมายเวสต์มินสเตอร์]]
|established_event3 = [[พระราชบัญญัติแคนาดา คริสต์ศักราช 1982|พ.ร.บ. แคนาดา]]
|established_date1 = [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2410]]
|established_date2 = [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2474]]
|established_date3 = [[17 เมษายน]] [[พ.ศ. 2525]]
|area_km2 = 9,984,670
|area_sq_mi = 3,854,083 <!-- Do not remove per [[WP:MOSNUM]] -->
บรรทัด 66:
|footnotes =
}}
'''แคนาดา''' ([[ภาษาอังกฤษ{{lang-en|อังกฤษ]]และ}}{{lang-fr|Canada}}) เป็นประเทศใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] ติดกับ[[สหรัฐอเมริกา]] เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบ[[ประชาธิปไตย]]โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือ[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร]]เป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์[[สหราชอาณาจักร]] แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง)
 
'''แคนาดา''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]และ{{lang-fr|Canada}}) เป็นประเทศใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] ติดกับ[[สหรัฐอเมริกา]] เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบ[[ประชาธิปไตย]]โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือ[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร]]เป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์[[สหราชอาณาจักร]] แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง)
 
ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี ค.ศ.1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี ค.ศ.1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจาก[[สหราชอาณาจักร]] [[รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์]]ในปี ค.ศ.1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิด[[พระราชบัญญัติแคนาดา]]ในปี ค.ศ.1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ
 
ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] โดยมี[[สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]] เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและใน[[รัฐนิวบรันสวิก]] ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ [[ภาษาอังกฤษ]]และ[[ภาษาฝรั่งเศส]] และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน
 
== ภูมิศาสตร์ ==
เส้น 80 ⟶ 79:
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์แคนาดา}}
=== อาณานิคมยุโรป ===
ฝรั่งเศสได้เข้ายึดครองแคนาดาฝั่งตะวันออกในปี [[พ.ศ. 2077]] (ค.ศ. 1534) และได้เริ่มตั้งถิ่นฐานในปี [[พ.ศ. 2147]] (ค.ศ. 1604) ปัญหาความขัดแย้งระหว่างฝรั่งเศสกับอังกฤษเกิดขึ้นในปี [[พ.ศ. 2256]] (ค.ศ. 1713) อันเนื่องจากเหตุผลด้านการประมงและการค้าขนสัตว์ ซึ่งในที่สุดดินแดนแคนาดาก็ตกเป็นของอังกฤษ
 
=== ศตวรรษที่ 20 ===
ปี [[พ.ศ. 2392]] (ค.ศ. 1849) แคนาดาได้รับการยอมรับในสิทธิการปกครองตนเอง และต่อมาปี [[พ.ศ. 2410]] (ค.ศ. 1867) ได้มีการจัดตั้ง '''[[รัฐอธิราชประเทศแคนาดาในเครือจักรภพ]]''' (Dominion of Canada) ในลักษณะของสหพันธรัฐซึ่งประกอบด้วยอัปเปอร์แคนาดา (Upper Canada) และโลว์เออร์แคนาดา (Lower Canada) (ได้แก่ [[รัฐออนแทรีโอ|ออนแทรีโอ]] [[รัฐควิเบก|ควิเบก]] [[รัฐโนวาสโกเชีย|โนวาสโกเชีย]] และ[[รัฐนิวบรันสวิก|นิวบรันสวิก]]ในปัจจุบัน) ซึ่งต่อมาได้ขยายออกไปทางภาคตะวันตกจนถึง[[รัฐบริติชโคลัมเบีย]]
 
ปี [[พ.ศ. 2474]] (ค.ศ. 1931) แคนาดาได้รับสถานะเป็นประเทศที่เท่าเทียมกับอังกฤษโดยมีกษัตริย์อังกฤษเป็นพระประมุข และต่อมาในปี [[พ.ศ. 2492]] (ค.ศ. 1949) [[รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์]] ก็ได้เข้าร่วมเป็นรัฐที่สิบของแคนาดา
 
== การเมืองการปกครอง ==
เส้น 112 ⟶ 111:
{{แผนที่แคนาดา|500px|center}}
 
แคนาดาเป็น[[สหพันธรัฐ]]ที่ประกอบด้วย '''10 รัฐ''' (provinces) และ '''3 ดินแดน''' (territories) ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างรัฐกับดินแดนคือ รัฐของแคนาดาได้รับมอบอำนาจจากบทบัญญัติในกฎหมายรัฐธรรมนูญโดยตรง ขณะที่ดินแดนของแคนาดาจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมายของสหพันธรัฐ ดังนั้น รัฐบาลสหพันธ์จึงมีอำนาจโดยตรงในการควบคุมดูแลดินแดน ส่วนรัฐบาลของรัฐนั้นจะมีอำนาจและสิทธิในการปกครองตนเองมากกว่า
 
รัฐและดินแดนของแคนาดามีรายชื่อดังต่อไปนี้
เส้น 158 ⟶ 157:
สินค้านำเข้าสำคัญ ได้แก่ เครื่องจักร น้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์ เครื่องยนต์ สินค้าอุปโภคบริโภค อาหาร
 
ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ได้แก่ [[สหรัฐอเมริกา]] [[จีน]] [[ญี่ปุ่น]] [[สหราชอาณาจักร]] [[เม็กซิโก]] และ[[เยอรมนี]]
 
ภาคการบริการเป็นภาคกิจการที่สำคัญที่สุดของแคนาดา คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 60 ของภาคเศรษฐกิจของประเทศ ธนาคารชั้นนำของแคนาดา 6 แห่ง เป็นหนึ่งใน 100 ธนาคารชั้นนำของโลก และมีสาขาอยู่ในต่างประเทศทั่วโลกกว่า 60 ประเทศ รวมถึง[[ธนาคารโนวาสโกเชีย]]ซึ่งมีสาขาอยู่ในไทยด้วย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านคอมพิวเตอร์และโทรคมนาคม ทำให้แคนาดาสามารถพัฒนาความก้าวหน้าในภาคกิจการนี้เป็นอย่างมาก
เส้น 171 ⟶ 170:
จำนวนประชากร:32.601.360 ล้านคน (2551)
 
สังคมของแคนาดาเป็นสังคมที่มีส่วนผสมของชนชาติต่าง ๆ มากมาย โดยชนชาติที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานมากที่สุด ระหว่างปี [[พ.ศ. 2534]] - [[พ.ศ. 2543|2543]] คือคนจากเอเชีย (จีน อินเดีย ปากีสถาน ลาว เขมร เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อิหร่าน) ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 59.5 ของคนเข้าเมืองเพื่อตั้งถิ่นฐานในแคนาดา
 
โดยในปี [[พ.ศ. 2505]] (ค.ศ. 1962) รัฐสภาแคนาดาได้ออกกฎหมายคนเข้าเมืองตามข้อเสนอของพรรคอนุรักษนิยม ซึ่งยังคงมีผลบังคับใช้จนทุกวันนี้ สาระสำคัญของกฎหมายดังกล่าวคือการยกเลิกการเลือกปฏิบัติ (ก่อนหน้านี้ มีการออกกฎหมายปี [[พ.ศ. 2430]] (ค.ศ. 1887) เพื่อกีดกันการเข้าเมืองของคนจีน และต่อมาปี ค.ศ. 1910 ได้ออกกฎหมายที่ใช้หลักการแหล่งกำเนิด แบ่งเป็น preferred ซึ่งคือ กลุ่มคนยุโรป และ non-preferred ได้แก่ กลุ่มที่ไม่ใช่ยุโรป) กล่าวคือ การเปิดรับคนเข้าเมืองจากทุกที่อย่างเป็นทางการทั่วไป และการใช้วิธีการคิดคะแนนประเมินน้ำหนัก (point system) ว่าสมควรรับผู้ใดเข้าไปตั้งถิ่นฐานในแคนาดา ทั้งนี้ เป็นที่น่าสังเกตว่า แคนาดามองเรื่องการรับคนเข้าไปตั้งถิ่นฐานอย่างเป็นการถาวร เพื่อเป็นฐานการเก็บภาษีให้แก่รัฐบาลกลางและรัฐบาลของรัฐ
 
ค่านิยมหลักของสังคมแคนาดาที่ฝังลึกในทุกคนคือ การส่งเสริมและเคารพในสิทธิและเสรีภาพของมนุษย์ ซึ่งเป็นหลักพื้นฐานสำคัญที่สุดของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สังคมแคนาดาจะสนใจอย่างยิ่งต่อพัฒนาการในประเทศที่มีระบอบการปกครองที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
 
=== ศาสนา ===
โรมันคาทอลิก (39.0%) คริสต์ศาสนิกชนนิกายอื่นๆอื่น ๆ (28.3%) ไม่มีศาสนา (23.9%) อิสลาม (3.2%) ฮินดู (1.5%)ซิกข์ (1.4%) พุทธ (1.1%) ยิว (1.0%) ศาสนาอื่นๆอื่น ๆ (0.6%)
 
=== ภาษ[[า]]ภาษา ===
{{บทความหลัก|ภาษาในแคนาดา}}
 
เส้น 207 ⟶ 206:
== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมแคนาดา}}
 
=== อาหาร ===
{{โครง-ส่วน}}