ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จดหมายลูกโซ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
จดหมายลูกโซ่บางอย่างมีลักษณะหลอกลวงต้มตุ๋นให้ส่งเงิน เช่น คุณเป็นผู้โชคดี แต่ต้องชำระค่าธรรมเนียม เป็นต้น ซึ่งผิดกฎหมายในหลายประเทศรวมถึงสหรัฐอเมริกา<ref>The U.S. Postal Inspection Service cites Ok
[https://www.law.cornell.edu/uscode/18/1302.html 18 USC 1302] when it asserts the illegality of chain letters:<br />[https://postalinspectors.uspis.gov/investigations/MailFraud/fraudschemes/sweepstakesfraud/ChainLetters.aspx ''Chain letters are] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120508132454/https://postalinspectors.uspis.gov/investigations/MailFraud/fraudschemes/sweepstakesfraud/ChainLetters.aspx |date=2012-05-08 }} illegal if they request money or other items of value and promise a substantial return to the participants, pursuant to Title 18, United States Code, Section 1302, the Postal Lottery Statute.'']</ref>
 
ปัจจุบันจดหมายลูกโซ่ได้ถูกพัฒนาไปสู่การส่งข้อความผ่านทาง [[อีเมล]], [[ระบบส่งข้อความทันที]] (แชต) หรือทาง [[เว็บบอร์ด]] เป็นต้น ลักษณะข้อความที่มักถูกเขียนเป็นจดหมายลูกโซ่ เช่น การแจ้งเตือนปัญหา[[ไวรัสคอมพิวเตอร์]], แจ้งเตือนว่าผู้ให้บริการฟรีบนอินเทอร์เน็ตจะเริ่มเก็บค่าบริการ, คำแนะนำเพื่อสุขภาพ, คำเตือนเกี่ยวกับอาหาร เครื่องดื่ม หรือสินค้าอุปโภคบริโภคที่ไม่ปลอดภัย, เรื่องสยองขวัญ, การอ้างว่าการส่งต่อนั้นจะก่อให้เกิดการบริจาคทางการกุศล เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้อมูลที่เขียนขึ้นโดยมิได้อิงอยู่บนข้อเท็จจริงแต่อย่างใด หรืออาจมีลักษณะเป็น[[ทฤษฎีสมคบคิด]]ที่มีความจริงอยู่เพียงบางส่วนเท่านั้น ข้อความลูกโซ่ในอีเมลหรือในแชตอาจถูกส่งโดยญาติหรือเพื่อน หรือบุคคลที่คุ้นเคย (ที่เชื่อข้อความดังกล่าว แล้วส่งต่อไปยังบุคคลอื่น ๆ รวมทั้งตัวผู้รับ) ซึ่งอาจทำให้ผู้รับเชื่อหรือเกิดความรู้สึกคล้อยตามได้ง่ายกว่าข้อความจากผู้ที่ผู้รับไม่คุ้นเคยหรือไม่ปรากฏผู้ส่ง