ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บึงละหาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 33:
 
== ลักษณะทางธรณีวิทยา ==
'''บึงละหาน''' ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบที่มีชั้นเกลือหินวางตัวอยู่ด้านใต้ เกลือหินสามารถละลายน้ำได้ง่ายและทำให้เกิดโพรงใต้ติน เมื่อตะกอนด้านบนรับน้ำหนักไม่อยู่จึงเกิดการถล่มตัวลงเป็นปรากฏการทางธรณีวิทยาที่เรียกว่า '''หลุมยุบ''' โดยเริ่มแรกเป็นหลุมขนาดเล็กและค่อยขยายตัวใหญ่ขึ้น เมื่อเกิดหลุมยุบครั้งแรกน้ำจะรสชาติเค็มเนื่องจากน้ำเกลือใต้ดินขึ้นมา ภายหลังตะกอนขนาดเล็กจะปิดกั้นไม่ให้เกลือสามารถขึ้นมาได้ ในขณะที่น้ำจืดเพิ่มปริมาณมากขึ้นความเค็มก็เจือจางไป ปัจจุบันบึงไม่มีการขยายตัวและไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ ลักษณะเช่นนี้สามารถพบได้หลายแห่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>เอกสารแหล่งเรียนรู้ทางธรณีวิทยาจังหวัดชัยภูมิ, จุจุดศึกษาที่ 9 บึงละหาน http://www.dmr.go.th/download/article/article_20110209132749.pdf </ref>
 
== อ้างอิง ==