ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝนกรด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mano61 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''[[ฝน]]กรด''' ({{lang-en|acid rain}}) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติอันเกิดเนื่องมาจาก[[มลพิษ|มลภาวะ]]ทางอากาศ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดมาจากการกระบวนการผลิตไฟฟ้าและอุตสาหกรรมทั่วไปของมนุษย์ โดยฝนกรดก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ต่อสภาพแวดล้อมมากมาย
 
ฝนกรดเป็นผลมาจากก๊าซ[[ซัลเฟอร์ไดออกไซด์]] (sulfur dioxide: SO<sub>2</sub>) และ[[ไนโตรเจนออกไซด์]] (nitrogen oxide: NO) โดยก๊าซทั้งสองชนิดนี้มักจะเกิดจากการเผาผลาญ[[เชื้อเพลิงฟอสซิล]] เช่น [[ถ่านหิน]] [[ก๊าซธรรมชาติ]] และ[[น้ำมัน]] ก๊าซทั้งสองชนิดนี้จะทำปฏิกิริยากับน้ำ (water: H<sub>2</sub>O) และสารเคมีอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศเพื่อก่อให้เกิด[[กรดกำมะถัน|กรดซัลฟิวริก]] (sulfuric acid: H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) , [[กรดไนตริก]] (nitric acid: HNO<sub>3</sub>) และสารมลพิษอื่น ๆ ก๊าซเหล่านี้มักจะทำปฏิกิริยากับสารเคมีจะส่งผลทำให้อากาศอบอ้าวอากาศร้อนชื้นทำให้เกิดมลพิษทางอากาศเมื่อไปโดนกับออกซิเจนอาจถูกกระแสลมพัดพาไปหลายร้อยกิโลเมตร และมักจะกลับสู่พื้นโลกโดยฝน หิมะ หมอก หรือแม้แต่ในรูปฝุ่นผงละออง
บรรทัด 7:
 
== ผลกระทบจากฝนกรด ==
CVCG ฝนกรดจะทำปฏิกิริยาเคมีกับวัตถุใด ๆ ที่มันสัมผัส [[กรด]]คือสารเคมีใดๆ ที่ทำปฏิกิริยากับสารอื่น ๆ โดยจะจ่าย[[อะตอม]][[ไฮโดรเจน]] (hydrogen: H) ออกไป ความเป็นกรดของสารใด ๆ เกิดจากการที่มีอะตอมไฮโดรเจนอิสระมากมายเกิดขึ้นจากการละลายสารนั้น ๆ ในน้ำ การวัดค่าสารที่เป็นกรดเราใช้มาตรา [[pH]] เป็นหน่วยในการวัด โดยจะมีค่าเป็นไปได้ตั้งแต่ 0 ถึง 14 การที่สารใด ๆ นั้นจะเป็นกรดได้ นั้นหมายถึงสารนั้น ๆ จะต้องมีค่า pH ตั้งแต่ 1 ถึง 6 โดยค่ายิ่งน้อยเท่าไหร่ หมายถึงยิ่งเป็นกรดแก่มากเท่านั้น ในทางกลับกัน สารที่มีค่า pH ตั้งแต่ 8 ถึง 14 เราจะเรียกว่า[[เบส (เคมี)|เบส]] (bases หรือ alkalis) โดยสารเหล่านี้จะทำการรับอะตอมไฮโดรเจนแทน น้ำแล้วมีค่า pH เป็น 7 กล่าวคือไม่ได้เป็น[[กรด]] และเป็นเบส เราเรียกสารแบบนี้ว่า สารที่เป็นกลาง โดยทั่วไปแล้วถ้าฝน หิมะ หรือหมอกที่มีค่า pH น้อยกว่า 5.6 เราจะถือว่าฝน หิมะ หรือหมอกเหล่านี้เป็นพิษ
เมื่อใดก็ตามที่กรดรวมตัวกับเบส เบสจะทำให้ความเป็นกรดลดน้อยลงมาได้ ซึ่งฝนในปกติจะมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ อยู่แล้ว มักจะทำปฏิกิริยากับเบสอื่น ๆ ในธรรมชาติทำให้เกิดสมดุลขึ้น แต่เมื่อใดก็ตามที่ปริมาณกรดในบรรยากาศเพิ่มขึ้น จึงทำให้สมดุลตรงนี้เสียหายไป จึงทำให้เกิดความเสียหายต่าง ๆ กับสภาพแวดล้อมมากมาย ตั้งแต่ดิน น้ำ สัตว์ต่าง ๆ รวมไปถึงสิ่งก่อสร้างของมนุษย์
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ฝนกรด"