ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การไทเทรต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
ตัวเล็ก
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Titration.gif|thumbnail|ลักษณะการไทเทรต]]
 
'''การไทเทรต''' ({{lang-en|Titrationtitration}}) คือ วิธีการทาง[[ปริมาณวิเคราะห์]] (Quantitative Analysis) ใช้ในการหา[[ปริมาตร]]ของ[[สารละลายมาตรฐาน]] (สารละลายที่เราทราบความเข้มข้นที่แน่นอนแล้ว) ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกับสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตร แต่ยังไม่ทราบ[[ความเข้มข้น]] เพื่อนำค่าปริมาตรที่ได้มาคำนวณหาความเข้มข้นของสารละลายอื่นนั้น
 
สำหรับการไทเทรตทุกชนิด จุดที่สารที่เรานำมาไทเทรตทำปฏิกิริยากันพอดี เราเรียกว่า [[จุดสมมูล]]หรือจุดสะเทิน (Equivalence Point)จุดที่กรดทำปฏิกิริยากันพอดีหรือสะเทินพอดีกับเบส ส่วนจุดที่[[อินดิเคเตอร์]] (Indicator) เปลี่ยนสี เราเรียกว่า [[จุดยุติ]] (End Point) ซึ่งเป็นจุดที่เราจะยุติการไทเทรต โดยถ้าเราใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมจะทำให้จุดยุติตรงกับจุดสมมูลหรือใกล้เคียงกับจุดสมมูลมาก แต่ถ้าเราใช้อินดิเคเตอร์ไม่เหมาะสมอาจจะทำให้จุดยุติอยู่ห่างจากจุดสมมูลมาก ทำให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อนได้