ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลื่อยวงเดือน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
[[หมวดหมู่:งานไม้]]
{{โครงเทคโนโลยี}}
 
 
== ชนิด ==
ใบเลื่อยแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน และถูกออกแบบมาให้ใช้กับวัสดุที่แตกต่างกัน สิ่งที่เพื่อนๆควรรู้ก่อนที่จะเลือกใบเลื่อยที่เหมาะกับวัสดุที่เราจะตัดคือ ชื่อเรียกส่วนประกอบต่างๆ เพราะส่วนประกอบเหล่านี้เองที่เป็นตัวบ่งชี้ว่า ใบเลื่อยนั้นๆเหมาะจะใช้ตัดอะไร (ชื่อภาษาไทย เป็นชื่อที่ Meplus แปลเอาเองนะครับ)
 
1. จำนวนฟัน : ในขณะที่ใบเลื่อยตรงๆ (เช่นเลื่อยมือ หรือเลื่อยจิ๊กซอ) เราดูความละเอียดของใบเลื่อย เป็น “ฟันต่อนิ้ว” หรือ “teeth per inch” (ที่เราพูดในตอนที่สาม) แต่ในเลื่อยวงเดือนนั้นความยาวเส้นรอบวงของใบเลื่อยเป็นขนาดตายตัวอยู่แล้ว เราจึงบอกแค่จำนวนฟันก็พอ แต่อย่าลืมว่า ใบเลื่อยขนาดเล็ก ก็จะมีเส้นรอบวงเล็กไปด้วย นั่นแปลว่า ใบเลื่อย 10 นิ้ว 40 ฟัน จะหยาบกว่า ใบเลื่อย 7 นิ้ว ที่มีจำนวนฟันเท่ากัน และเช่นเดียวกับฟันเลื่อยมือ ที่ยิ่งฟันน้อยก็ย่ิงตัดได้เร็ว แต่จะได้ผิวงานไม่เรียบร้อย เท่ากับตัดด้วยฟันที่ถี่กว่า
 
 
 
2. ลักษณะของฟัน : โดยทั่วไปนิยมใช้กันอยู่ สี่แบบ ได้แก่
 
Flat Top Grind (FTG) หรือฟันแบบปลายเรียบ บางครั้งเรียกว่า Rakers : ใบเลื่อยแบบนี้จะตัดไม้ด้วยลักษณะคล้ายสิ่วเล็กๆจำนวนมาก มีการกัดไม้และคายไม้ได้เร็ว ตัดขวางเสี้ยนไม้ได้ไม่เรียบร้อยมาก เหมาะกับการโกรกไม้(ตัดตามเสี้ยน)มากกว่า ใบแบบนี้จะทนกว่าใบ ATB
Alternate Top Bevel (ATB) หรือฟันแบบเอียงสลับ : ฟันแบบนี้จะเอียงสลับกันไปมา และตัดผ่านไม้เหมือนใบมีดเล็กๆ มากกว่าสิ่ว จึงเฉือนเส้นใยของไม้ได้ดีกว่า เหมาะกับการตัดขวางเสี้ยนมากกว่า ใบอเนกประสงค์ส่วนใหญ่ที่เราได้มาพร้อมกับเลื่อยมักจะเป็นใบแบบนี้
Combination (ATBR) (คือ ATB+Rakers) หรือฟันแบบผสม : ใบแบบนี้จะมีฟันเลื่อยแบบที่ประกอบด้วยชุดฟัน ชุดละ 5ซี่ โดยจะเป็น ATB 4 ซี่ FTG 1 ซี่ ฟันชุดแบบนี้ จะทำให้เราได้ท้องคลองเลื่อยที่เรียบร้อยกว่า เนื่องจากมีฟัน TFG คอยเก็บท้องคลองเลื่อยให้ได้เหลี่ยมสวยงามเสมอ
Triple-Chip Grind (TCG) หรือ ใบตัดพลาสติกและอลูมิเนียม (อันนี้ไม่รู้จะแปลตรงตัวว่าอะไร เอาชื่อตามหน้าที่ไปละกันนะ) : ใบแบบนี้จะมีจุดเด่นตรงที่ความทนทานของฟันเลื่อย โดยจะมีฟันที่ทำมุมทั้งสองด้านของฟัน ทำหน้าที่กัดวัสดุออกบางส่วนก่อน สลับกับ ฟันแบบ FTG ที่ตามเก็บความเรียบร้อยของคลองเลื่อยอีกที ใบแบบนี้ใช้ในการตัดพลาสติกเช่นอะคริลิกได้ดี เนื่อยจากไม่ทำให้เกิดการแตก หรือกระเทาะ ระหว่างตัด
 
 
 
3. มุมของฟัน (Hook, Rake) : เป็นมุมของฟันเลื่อยแต่ละซี่ที่ทำมุมกับเส้นผ่านศูนย์กลางของใบเลื่อย มุมนี้จะเป็นตัวกำหนดความรุนแรงในการกัดวัสดุของใบเลื่อย ยิ่งมุมมากก็ยิ่งกัดได้เร็ว แต่ก็มีโอกาสทำให้ชิ้นงานเสียหาย หรือไม่เรียบร้อยได้มาก แต่ยิ่งองศาน้อยก็ยิ่งต้องออกแรงส่งชิ้นงานมาก ซึ่งดีต่อการใช้กับเลื่อยองศาหรือเลื่อยรัศมี เพราะมันช่วยป้องกันการถีบกลับของไม้ได้ดีกว่า
 
 
</ref> https://meplushobby.com </ref>