ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โพสพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Po Sop5293.JPG|thumb|300px|พระแม่โพสพ]]
[[ไฟล์:Phosop.jpg|แม่โพสพและพ่อโพสี|350px|thumb]]
'''โพสพ''' บ้างเรียก '''โพสี'''<ref name="โพสพ"/> [[ภาษาถิ่นพายัพ]]และ[[ภาษาถิ่นอีสาน|อีสาน]]ว่า '''โคสก'''<ref>{{cite web |url=http://www.lannawisdoms.com/blog/?page_id=1573|title=เรียกขวัญข้าว (๒)|author= [[มาลา คำจันทร์]] |date= 13 มีนาคม 2555|work= |publisher=โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา|accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref><ref>{{cite web |url=http://www.isangate.com/local/tahag.html|title=ผีตาแฮก|author= |date= 9 สิงหาคม 2557 |work= |publisher=ประตูสู่อีสาน|accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref> หรือ '''เสื้อนา เสื้อไร่'''<ref name=แม่/> [[ภาษาไทลื้อ]]ว่า '''ย่าขวัญข้าว'''<ref>บุญยงค์ เกศเทศ. ''ร้อยขุนเขาเผ่าไทในเวียดนาม''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:หลักพิมพ์, 2548, หน้า 122</ref> [[ภาษากะเหรี่ยง]]ว่า '''ภี่บือโหย่'''<ref>{{cite web |url=http://www.sac.or.th/main/content_print.php?content_id=213|title=ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ (1)|author= ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ และอื่น ๆ|date= 13 มีนาคม 2555|work= |publisher=ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร|accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref> หรือ '''ผีบือโย'''<ref>{{cite web |url=http://nutkubphom16.wordpress.com/ความเชื่อของชนเผ่ากะเห/|title=ความเชื่อของชนเผ่ากะเหรี่ยง|author=|date=|work= |publisher=nutkubphom16|accessdate=2 พฤศจิกายน 2557}}</ref> [[ภาษามลายูปัตตานี]]ว่า '''มะฮียัง''' (Mak Hiang)<ref>{{cite web |url=http://www.sujitwongthes.com/suvarnabhumi/2012/03/09032555/|title= มะโย่ง การแสดงจากพิธีกรรมในวัฒนธรรมมุสลิม |author=เจนจิรา เบญจพงศ์|date= 9-15 มีนาคม 2555 |work= |publisher=สุวรรณภูมิ|accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref> เป็นเทพเจ้าแห่งข้าวตามคติความเชื่อของไทย<ref>[http://web.archive.org/web/20070526103719/http://www.awakenedwoman.com/pairin_rice_mother.htm Pairin Jotisakulratana, ''Mae Po sop: The Rice Mother of Thailand'']</ref> โพสพตามความเชื่อแต่เดิมเป็นเทวสตรี แต่ภายหลังได้มีคติปรากฏเป็นบุรุษเพศคู่กัน มีปลาเป็นพาหนะ<ref name="โพสพ"/> แต่บ้างก็เชื่อว่าได้รับอิทธิพลมาจาก[[ท้าวกุเวร]] หรือท้าวเวสสุวรรณ เทพเจ้าประจำทิศเหนือ ซึ่งเป็นคติที่รับมาจากอินเดีย โดยท้าวกุเวรนั้นเป็นบุรุษรูปร่างอ้วนท้วน พุงพลุ้ย ในพระหัตถ์ถือถุงเงิน ด้วยเป็นเทพเจ้าแห่งทรัพย์สิน แต่ไทยปรับเปลี่ยนมาเป็นเทวสตรี และกลายเป็นเทพเจ้าแห่งข้าว<ref name=แม่>หน้า 3, ''จากแม่โพสสพ กับข้าวใหม่''. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง, '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21891: วันพฤหัสบดีที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 2 ปีระกา</ref>
 
นอกจากนี้ยังปรากฎใน ''[[โคลงทวาทศมาส]]'' ออกนามว่า "พระไพศภ" "พระไพศพ" หรือ "พระไพสพ"<ref name="โพสพ">{{cite web |url=http://lit.hum.ku.ac.th/Book/_16_7.htm|title=แกะรอยแม่โพสพ|author=วรรณา นาวิกมูล|date=|work= |publisher=ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์|accessdate=27 มกราคม 2557}}</ref> และปรากฎอยู่ในพระอายการเบ็ดเสร็จ ใน[[กฎหมายตราสามดวง]] ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ที่[[รัชกาลที่ 1]] โปรดเกล้าให้ชำระ<ref name=แม่/>
บรรทัด 9:
มีพิธีกรรมบูชาพระแม่โพสพ โดยทำ ''[[เฉลว]]'' ในหน้านา ด้วยมีความเชื่อว่าพระแม่โพสพจะบันดาลให้วิถีชีวิตของพวกเขาพออยู่พอกิน<ref>[http://www.channelnewsasia.com/stories/southeastasia/view/340671/1/.html Rice Hoarding Affect Supplies in Thailand]</ref> เป็นมิ่งขวัญของชาวนาในยุ้งฉาง<ref name="โพสพ"/>
 
พระแม่โพสพ มีลักษณะ "...เป็นหญิงสาวท่าทางอ่อนช้อยสวยงาม ภาพของนางที่สร้างขึ้นเพื่อเคารพบูชาเป็นท่านั่งพับเพียบ มือขวาถือรวงข้าวมือซ้ายถือถุงข้าว แต่งกายนุ่งผ้าถุงห่มผ้าสไบเฉียงแบบหญิงในวังสมัยก่อน"<ref name="โพสพ"/> แม้พระแม่โพสพจะมีมาเนิ่นนานก่อนการรับศาสนาพราหมณ์แต่ถือกันว่าเป็นพระภาคหนึ่งของ[[พระลักษมี]] บ้างก็ว่าเดิมเป็นชายาองค์หนึ่งของพระอินทร์ ชื่อ ''พระสวเทวี'' (เพื่อโยงชื่อโพสพเข้ากับชื่อชายาพระอินทร์ นั่นคือให้ 'สพ' แผลงมาจาก 'สว' ส่วน โพอาจจะมาจากชื่อ ไพสพ ของเทวดารักษาทิศอีสาน)<ref name="โพสพ"/> บ้างก็ว่าคือ[[ท้าวกุเวร]] หรือท้าวเวสสุวรรณ เทพเจ้าประจำทิศเหนือ ซึ่งเป็นคติที่รับมาจากอินเดีย โดยท้าวกุเวรนั้นเป็นบุรุษรูปร่างอ้วนท้วน พุงพลุ้ย ในพระหัตถ์ถือถุงเงิน ด้วยเป็นเทพเจ้าแห่งทรัพย์สิน แต่ไทยปรับเปลี่ยนมาเป็นเทวสตรี และกลายเป็นเทพเจ้าแห่งข้าว<ref name=แม่>หน้า 3, ''จากแม่โพสสพ กับข้าวใหม่''. "ชักธงรบ" โดย กิเลน ประลองเชิง, '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 68 ฉบับที่ 21891: วันพฤหัสบดีที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 2 ปีระกา</ref>
 
ปัจจุบันการบูชาพระแม่โพสพได้สร่างซาลงไป โดยเฉพาะ[[ไทยเชื้อสายมลายู|ชาวไทยเชื้อสายมลายู]]ที่เลิกการบูชาโพสพเพราะขัดกับหลัก[[ศาสนาอิสลาม]]<ref>{{cite web |url=http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1292493085|title=มองคนมลายูในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ ผ่านแว่นวรรณกรรมฯ |author= |date= 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553 |work= |publisher=มติชนออนไลน์ |accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref> ต่อมา[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]ได้ทรงอุปถัมภ์พิธีกรรมโบราณนี้เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551<ref>[http://www.chinapost.com.tw/asia/thailand/2008/08/11/169635/Thailand-revives.htm Thailand revives worship of Rice Goddess - The China Post]</ref><ref>{{cite web |url=http://www.suphaninsure.com/wizContent.asp?wizConID=56031&txtmMenu_ID=7|title= พิธีอัญเชิญแม่โพสพคืนนา |author=|date=|work= |publisher=สุพรรณอินชัวร์|accessdate=20 พฤศจิกายน 2557}}</ref> บางหมู่บ้านก็มีสตรีแต่งกายเป็นพระแม่โพสพช่วงเทศกาลหรืองานเฉลิมฉลองในท้องถิ่น<ref>[http://i551.photobucket.com/albums/ii474/poepum/100_3013-1.jpg Woman in Pho sop costume]</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โพสพ"