ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บ้านหวั่งหลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Paul 012 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไข: ล้ง 1919 อยู่ติดกับบ้านหวั่งหลี เป็นคนละส่วนกัน
บรรทัด 1:
[[ภาพ:Wanglee House 2015-02บ้านหวั่งหลี_1.jpg|thumb|250240px|right|บ้านหวั่งหลี ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของล้ง 1919]]
[[ภาพ:บ้านหวั่งหลี_2.jpg|thumb|240px|right|สถาปัตยกรรมภายในบ้านหวั่งหลี]]
'''ล้ง 1919''' ([[อักษรจีน]]: 廊 1919; {{lang-en|Lhong 1919}}) เป็นแหล่งท่องเที่ยว ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ด้าน[[ฝั่งธนบุรี]] ดำเนินกิจการโดย ตระกูลหวั่งหลี แต่เดิมเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ '''บ้านหวั่งหลี''' เป็นบ้านประจำตระกูลหวั่งหลี มีอายุมากกว่า 160 ปี ตั้งอยู่ที่เลขที่ 248 สุด[[ถนนเชียงใหม่]] แขวงคลองสาน [[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]] มีเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่ และพื้นที่อาคาร
[[ภาพ:Wanglee House 2015-02.jpg|thumb|240px|right|บ้านหวั่งหลี]]
6,800 ตารางเมตร โดยอยู่ฝั่งตรงข้ามกับ[[ย่านตลาดน้อย]] เขตสัมพันธวงศ์ ใน[[ฝั่งพระนคร]]<ref name=ล้ง>{{cite web|url=https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%87+1919+%E0%B9%82%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99+%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99+%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84+%E0%B8%A3+%E0%B9%94+%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2+167+%E0%B8%9B%E0%B8%B5+%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5+%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99-RQmmpe|title=ล้ง 1919 โบราณสถาน สถาปัตยกรรมจีน ยุค ร.๔ อายุกว่า 167 ปี มรดกหวั่งหลี มรดกแผ่นดิน|accessdate=2018-01-28|date=2017-11-03|author=Decor}}</ref>
'''บ้านหวั่งหลี''' เป็นบ้านประจำตระกูลหวั่งหลี มีอายุกว่า 130 ปี ตั้งอยู่สุด[[ถนนเชียงใหม่]] ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] [[เขตคลองสาน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
==ประวัติ==
กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์. "กรุงธนบุรี ในสมัยอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์." วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555, หน้า 93</ref>)บ้านหวั่งหลีนี้ เดิมเป็นท่าเรือกลไฟและโกดังสินค้า สำหรับรองรับเรือสินค้าจากหัวเมืองประเทศต่างของ พระยาพิศาลศุภผล เช่น(ชื่น) [[มลายู]], [[สิงคโปร์]], [[จีนแผ่นดินใหญ่]], [[ฮ่องกง]]ต้นตระกูลพิศาลบุตร ต่อมาขายให้แก่นายตันลิบบ๊วย แห่งตระกูลหวั่งหลี ในปี พ.ศ. 2462 จนกระทั่งภายหลังบริษัทหวั่งหลี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทของครอบครัวเข้ามาเป็นผู้บริหารดูแลบ้านหลังนี้ จึงได้ทำการบูรณะตัวบ้านใหม่ทั้งหมด ปัจจุบันบ้านหลังนี้ไม่ได้ใช้เป็นที่อยู่อาศัยแล้ว เนื่องจากทายาทเพราะลูกหลานของตระกูลต่างแยกย้ายกันออกไปหาที่อยู่อาศัยข้างนอกกันหมด บ้านหลังนี้จึงเปิดใช้เฉพาะเพื่อประกอบพิธีสำคัญของตระกูลเท่านั้น ซึ่งมีเพียงปีละ 2-3 ครั้ง และได้รับรางวัล[[อาคารอนุรักษ์]]ดีเด่น จาก[[สมาคมสถาปนิกสยาม]] ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อ [[พ.ศ. 2527]]<ref>{{cite book|editor-first=Pattaranan|editor-last=Takkanon|publisher=The Association of Siamese Architects under Royal Patronage |title=ASA Architectural Awards: Bangkok Walking Guide|year=2012|isbn=9786167384061|page=159}}</ref>
เดิมเป็นท่าเรือของ พระยาพิศาลศุภผล (ชื่น) ต้นตระกูลพิศาลบุตร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2393 โดยมีชื่อว่า "ฮวงจุ้งล้ง" (火船廊; คำแปล ''ท่าเรือกลไฟ''<ref>
กรรณิการ์ สุธีรัตนาภิรมย์. "กรุงธนบุรี ในสมัยอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์." วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555, หน้า 93</ref>) เป็นท่าเรือกลไฟและโกดังสินค้า สำหรับรองรับเรือสินค้าจากหัวเมืองประเทศต่าง ๆ เช่น [[มลายู]], [[สิงคโปร์]], [[จีนแผ่นดินใหญ่]], [[ฮ่องกง]] ต่อมาขายให้แก่นายตันลิบบ๊วย แห่งตระกูลหวั่งหลี ในปี พ.ศ. 2462 จนกระทั่งภายหลังบริษัทหวั่งหลี จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทของครอบครัวเข้ามาเป็นผู้บริหารดูแลบ้านหลังนี้ จึงได้ทำการบูรณะตัวบ้านใหม่ทั้งหมด ปัจจุบันบ้านหลังนี้ไม่ได้ใช้เป็นที่อยู่อาศัยแล้ว เนื่องจากทายาทของตระกูลต่างแยกย้ายกันออกไปหาที่อยู่อาศัยข้างนอกกันหมด บ้านหลังนี้จึงเปิดใช้เฉพาะเพื่อประกอบพิธีสำคัญของตระกูลเท่านั้น ซึ่งมีเพียงปีละ 2-3 ครั้ง และได้รับรางวัล[[อาคารอนุรักษ์]]ดีเด่น จาก[[สมาคมสถาปนิกสยาม]] ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อ [[พ.ศ. 2527]]<ref>{{cite book|editor-first=Pattaranan|editor-last=Takkanon|publisher=The Association of Siamese Architects under Royal Patronage |title=ASA Architectural Awards: Bangkok Walking Guide|year=2012|isbn=9786167384061|page=159}}</ref>
 
==สถาปัตยกรรม==
ลักษณะอาคารสร้างด้วย[[สถาปัตยกรรมจีน]]แบบ [[ซานเหอหยวน]] (三合院) หันหน้าออกมาทางแม่น้ำเจ้าพระยา และมีลานโล่งกว้างบริเวณหน้าบ้าน ซึ่งตอนนี้ถูกปรับให้เป็นสวนขนาดย่อมช่วยเพิ่มความสวยงามสบายตาจากเดิมที่เคยเป็นเพียงแค่ลานปูนเท่านั้น สิ่งก่อสร้างภายในประกอบด้วยอาคารสำคัญสามหลัง ตึกตรงกลางเป็นเรือนประธาน ซึ่งหันหน้าออกแม่น้ำเจ้าพระยา เป็น[[ศาลเจ้า]]ของ[[ม่าจ้อโป๋|หม่าโจ้ว]]เรียกว่า หรือเจ้าแม่ทับทิม เทพเจ้าแห่งท้องทะเลและการเดินเรือของจีน<ref>หน้า 13 ประชาชื่น, ''"ศาลเจ้าแม่หม่าหมาโจ้วไม่ใช่เจ้าแม่ทับทิม''. "เล้ง 1919 (LHONG 1919) ท่าเรือ ย้อนเวลาสู่ประวัติศาสตร์ไทย-จีน" โดย ธนะธัช ตังคะประเสริฐ: '''มติชน'''ปีที่ 40 ฉบับที่ 14495: วันศุกร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560</ref> มีตึกแถวสองชั้น เพดานสูง หลังคาแบบจีน สร้างขนาบสองด้าน ตรงกลางระหว่างอาคารเป็นลานโล่ง ใช้ประกอบพิธีกรรมของตระกูลหวั่งหลี ในวันสำคัญตามประเพณีจีน
 
ต่อมาในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ตระกูลหวั่งหลี ได้มีโครงการที่จะเปลี่ยนที่นี่ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและแลนด์มาร์คของริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา จึงเริ่มเข้ามาพัฒนาพื้นที่และเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 โดยเป็น[[ร้านอาหาร]], [[ร้านกาแฟ]], จุดถ่ายรูป, ร้านจำหน่ายสินค้าศิลปะและหัตถกรรม, พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ความสัมพันธ์ไทย-จีน และสถานที่พักผ่อน<ref name=ล้ง/>
 
{{โครงสถานที่}}
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*{{geolinks-bldg|13.734309|100.507638}}
*[https://www.facebook.com/lhong1919/ เฟซบุกอย่างเป็นทางการ]
[[หมวดหมู่:อาคารอนุรักษ์|หวั่งหลี]]
[[หมวดหมู่:เขตคลองสาน|คลองสาน]]
[[category:ศูนย์การค้าในกรุงเทพมหานคร]]
{{สร้างปี|2559}}{{สร้างปี|2393}}