ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัญชะลี ไพรีรัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Beebieyahoo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Beebieyahoo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
 
== ประวัติการทำงาน ==
เริ่มต้นชีวิตในวัยทำงานในเส้นทางของนักสื่อสารมวลชน ด้วยการเป็นนักข่าวหนังสือพิมพ์ และด้วยความที่เป็นนักสื่อสารมวลชนคนหนึ่งที่คร่ำหวอดในเส้นทางนี้มาถึง 20 ปี ทำให้ อัญชะลีอัญชะนี ไพรีรัก ได้ทำงานที่ค่อนข้างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเป็นนักข่าวหนังสือพิมพ์ ทำข่าวประกวด ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวการเมือง ข่าวตลาดหุ้น ข่าวการตลาด จนกระทั่งเป็นผู้ประกาศข่าวทาง ช่อง 7 สี
 
ในปี [[พ.ศ. 2539]] ได้เป็นพิธีกรแทน[[บุญยอด สุขถิ่นไทย]] ทางรายการ "กู๊ด มอร์นิ่ง บางกอก" ที่ลาหยุดไปเนื่องจากป่วย 2 วัน
 
อัญชะลีอัญชะนี ไพรีรักเริ่มเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในช่วงรัฐบาล พ.ต.ท.[[ทักษิณ ชินวัตร]] เป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยความเป็นนักจัดรายการวิทยุที่กล้าวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลอย่างตรงไป ตรงมา และมีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง ซึ่งในตอนนั้นอัญชะลีชะนีจัดรายการวิทยุอยู่ที่คลื่น F.M. 96.5 MHz รายการ "จับชีพจรข่าว"
 
ต่อมาได้ถูกยุติการทำรายการ เนื่องจากถูกแทรกแซงทางการเมืองจากรัฐบาลในสมัยนั้น จึงได้รับการเชื้อเชิญจากนาย[[ประชัย เลี่ยวไพรัตน์]] เจ้าของธุรกิจ[[ทีพีไอ]] ให้มาทำวิทยุ[[เอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ|คลื่นประชาธิปไตย F.M. 92.25 MHz]] โดยเป็นผู้ริเริ่ม ทั้งวางผังและจัดรายการเองทั้งหมด แต่ต่อมาก็ถูกแทรกแซงอีกครั้ง จนต้องลาออกมา
 
จนกระทั่งในต้นปี [[พ.ศ. 2549]] ที่กลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]ได้เริ่มต้น[[การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี|การขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร]] อย่างจริงจังแล้ว อัญชะลีชะนีจึงได้เข้าร่วมและได้ร่วมจัดรายการบนเวทีและใน[[เมืองไทยรายสัปดาห์|รายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร คอนเสิร์ตการเมือง]] คู่กับ[[ยุทธิยง ลิ้มเลิศวาที]] ในรายการชื่อ "ติดดาบปลายปืน" แต่มิได้เป็นพนักงานใน[[หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ|เครือผู้จัดการ]]แต่อย่างใด
 
หลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหารเมื่อปี 2549]] ได้เดินทางไปเรียนต่อที่[[ประเทศออสเตรเลีย]]ได้ระยะหนึ่ง จึงเดินทางกลับมา จากนั้นใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550|การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550]] อัญชลีอัญชะนีได้ลงสมัครรับเลือกตั้งใน จังหวัดสมุทรปราการ สังกัด[[พรรคเพื่อแผ่นดิน]] อันเนื่องความสัมพันธ์ส่วนตัวที่มีกับแกนนำพรรค แต่สอบตก ไม่ได้รับการเลือกตั้ง
 
ใน[[การชุมนุมของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย พ.ศ. 2551]] อัญชะลีชะนีได้กลับมาร่วมชุมนุมอีกครั้ง โดยเป็นผู้จัดรายการเล่าข่าวตอนเช้าบนเวทีคู่กับ[[กมลพร วรกุล]] ภายหลังการชุมนุมยุติลงก็ได้ทำหน้าที่เป็นพิธีกรรายการเคาะข่าวริมโขงและแขกรับเชิญรายการสภาท่าพระอาทิตย์ทุกวันจันทร์และศุกร์ และมีรายการประจำ ชื่อ "จับตาประเทศไทย" ออกอากาศทุกคืน[[วันอาทิตย์]] 20.30 - 21.00 น.ทาง [[เอเอสทีวี]] เป็นรายการเล่าข่าวทั่วไป
 
ต่อมา อัญชะลีชะนีได้ยุติรายการทั้งหมดทางเอเอสทีวี และสื่อต่าง ๆ ในเครือผู้จัดการหมดแล้ว โดยมีเสียงร่ำลือกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้ออกไปทำงานส่วนตัว และเป็นเลขานุการให้กับ นาย[[จุติ ไกรฤกษ์]] รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร]] <ref>[http://www.thaiindexnews.com/2011/02/19.html ทำไม "ม็อบแดง" เติบโต ทำไม "ม็อบเหลือง" ถดถอย จับตา 19 ก.พ. "สึนามิแดง" มาแล้ว]</ref> ส่วนอีกกระแสหนึ่งกล่าวว่า ได้เป็นบรรณาธิการให้กับนิตยสารท่องเที่ยว<ref>[http://onknow.blogspot.com/2011/02/19-2554.html ทำไม อีปอง อัญชะลีอัญชะนี หายไปจากเวทีพันธมิตร (19 ก.พ.2554)]</ref>
 
อัญชะลีชะนีเคยเป็นผู้จัดรายการ "ร้อยข่าวบลูสกาย" และ"ร้อยข่าวสุดสัปดาห์" ทาง[[บลูสกายแชนแนล]]
 
ปัจจุบัน อัญชะลีชะนีได้ร่วมงานกับสถานีโทรทัศน์[[นิว18] ในเครือ[[เดลินิวส์|หนังสือพิมพ์เดลินิวส์]] โดยเป็นผู้ดำเนินรายการ "หมายข่าวนิวทีวี" ออกอากาศในช่วงเย็น โดยเริ่มออกอากาศตั้งแต่วันที่ [[4 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2557]] <ref>[http://www2.manager.co.th/mwebboard/listComment.aspx?Mbrowse=6&QNumber=370920 "เจ๊อีปอง อัญชะลีอัญชะนี" คืนจอ นั่งแทนพิธีกรข่าวช่อง18 "นิวทีวี"], จากเว็บบอร์ด[[ผู้จัดการออนไลน์]].</ref>
 
==วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557==