ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาจีนกลาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Somsak Ung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
}}
 
'''ภาษาจีนกลาง''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 官話, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 官话, [[พินอิน]]: Guānhuà, [[ภาษาอังกฤษ]]: Mandarin) หรือที่เรียกในประเทศจีนว่า "ภาษาฮั่น" เป็นภาษาหลักของ[[ภาษาจีน]]และเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของ[[สหประชาชาติ]] ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก
 
== ชื่อภาษาจีนกลาง ==
'''ภาษาจีนกลาง''' เป็นคำที่คนไทยใช้เรียกภาษาหลักของจีน ซึ่งในประเทศจีนจะไต้หวันกับสิงคโปร์เรียกภาษานี้ว่า '''ฮั่นฮวา-ยวี่''' (อักษรจีน: 語) แปลว่า ภาษาฮั่นฮวา อันป็นภาษาของชาวฮั่นซึ่งคำว่า ที่เป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศ'''ฮวา''' หรือ '''ฮวาเยริน''' (อักษรจีน: และ華人) เป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกตัวเองในปัจจุบัน สำหรับประเทศไต้หวันกับสิงคโปร์จีนจะเรียกภาษานี้ว่า '''ฮวา-ฮั่นยวี่''' (อักษรจีน: 語) แปลว่า ภาษาฮวาฮั่น ซึ่งก็มีความหมายที่ใกล้เคียงกับคำว่าอันป็นภาษาของชาวฮั่นเช่นกัน
 
ภาษาอังกฤษเรียกภาษานี้ว่า '''Mandarin''' (แมนดาริน) ซึ่งมีรากจากคำในภาษาสันสกฤษว่า '''มันตริน''' หรือเทียบตรงกับคำไทยว่า '''มนตรี''' และคำว่า '''กว่านฮว่า''' (อักษรจีน: 官話) '''กว่าน''' (อักษรจีน: 官) แปลว่าราชสำนักและ '''ฮว่า''' (อักษรจีน: 話) แปลว่าพูด เป็นชื่อโบราณที่ใช้เรียกภาษานี้ ปัจจุบันใช้ในเชิงวิชาการเพื่อแยกว่าไม่ใช่ภาษาจีนกลุ่มอื่นเช่น [[ภาษาแต้จิ๋ว]], [[ภาษาฮกเกี้ยน]], [[ภาษากวางตุ้ง]] เป็นต้น
 
ในวงแคบคำว่า '''ภาษาจีนกลาง''' ใช้เรียก ผู่ทงฮว่า (普通话/普通話) และ กั่วอวี่ (国语/國語) ซึ่งเป็นภาษาพูดมาตรฐานที่เกือบจะเหมือนกัน ซึ่งมีพื้นฐานมาจากภาษาพูดที่ใช้กว้างขวาง คือ ''Beifanghua เป่ยฟางฮั่ว'' ซึ่งความหมายในวงแคบนี้ คือความหมายที่ใช้ในบริบทนอกวิชาการ ในวงกว้างคำว่า '''ภาษาจีน''' ใช้เรียก เป่ยฟางฮว่า ("ภาษาพูดทางเหนือ") ซึ่งเป็นประเภทที่ประกอบด้วยภาษาย่อยต่าง ๆ ของภาษาจีนที่ใช้ในทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ซึ่งความหมายนี้มักจะพบในบริบททางวิชาการ และจะใช้ความหมายนี้ในบทความนี้ โดยที่ผู่ตงฮั่วและกั๋วอวี่ จะใช้ชื่อจีนเรียก รวมถึงใช้ "ภาษาจีนกลางมาตรฐาน" และ "ภาษาจีนมาตรฐาน" เรียก