ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมนเฟรมคอมพิวเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7429643 สร้างโดย 14.207.142.14 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Honeywell-Bull_DPS_Bull DPS 7_Mainframe_BWW_March_1990.jpg|link=https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:Honeywell-Bull_DPS_7_Mainframe_BWW_March_ Mainframe BWW March 1990.jpg|thumb|250x250px|เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ ''Honeywell-Bull DPS 7'']]
'''เมนเฟรัมคอมพิวเตอร์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: mainframe computer) คือ[[คอมพิวเตอร์]]ขนาดใหญ่ที่ใช้ในองค์กรเพื่อประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก เช่น [[สำมะโนประชากร]] สถิติผู้บริโภค [[การบริหารทรัพยากรขององค์กร]] เป็นต้น
 
บรรทัด 10:
== ประเภทของเมนเฟรม ==
ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมส่วนมากจะมีหน่วยคอมพิวเตอร์ย่อยๆ ประกอบอยู่ด้วยเพื่อช่วยในการทำงานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก สามารถแยกตามหน้าที่ได้ดังนี้
* Host processor (หน่วยประมวลผลโฮสต์) เป็นเครื่องหลักทำหน้าที่ควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการคำนวณต่าง ๆ
* Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานที่เรียกว่าจอเทอร์มินัลระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพิวเตอร์หลัก
* Back-end processor มีหน้าทีจัดการเกี่ยวกับการใช้ข้อมูล
 
== โปรเซสเซอร์ส่วนต่าง ๆ บนเมนเฟรม ==
ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนพร้อม ๆ กันซึ่งผู้ใช้เหล่านั้นอาจจะนั่งทำงานอยู่ใกล้เครื่องเมนเฟรมหรืออาจจะอยู่ที่อื่นซึ่งไกลออกไปก็ได้เครื่องเมนเฟรมจะเก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจำหลักและมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทซ์การทำงานระหว่างโปรแกรมต่างๆ เหล่านั้นอย่างรวดเร็วโดยที่ผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่ามีการสับเปลี่ยนการทำงานไปทำงานของคนอื่นอยู่ตลอดเวลาเนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วกว่ามนุษย์มากหลักการที่เครื่องเมนเฟรมสามารถทำงานหลายโปรแกรมพร้อมๆกันนั้น เรียกว่า "มัลติโปรแกรมมิง" (multiprogramming){{โครงคอมพิวเตอร์}}
 
[[หมวดหมู่:ประเภทของคอมพิวเตอร์]]
{{โครงคอมพิวเตอร์}}