ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฮนรี พีช โรบินสัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saerin (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการเก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''เฮนรี พีช โรบินสัน''' (Henry Peach Robinson) ([[9 Henryกรกฎาคม]] Peach[[ค.ศ. Robinson1830]] - [[21 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1901]]) คือผู้บุกเบิกการถ่ายภาพประกอบ หรือเรียกได้ว่าเป็นดั่งราชาแห่ง[[การถ่ายภาพ]]และเป็นหนึ่งในช่างภาพที่เก่งที่สุดของยุคนั้น Henryเฮนรี Peach Robinsonพีช โรบินสันเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อวงการช่างภาพและการถ่ายภาพมากที่สุด จนกระทั่งถึงยุคของ [[ปีเตอร์ เฮนรี อีเมอร์สัน]] (Peter Henry Emerson) ผู้บุกเบิกการถ่ายภาพแบบ naturalistic [เหมือนจริง,เป็นธรรมชาติ]
{{เก็บกวาด}}
'''Robinson, Henry Peach'''
 
Henryเฮนรี Peach Robinsonพีช โรบินสันได้รับอิทธิพลมากมายจากภาพเขียนและงานเขียนมากมายของ J.M.W.Turner เมื่ออายุได้ 19 ปีเข้าจึงเริ่มสร้างงานศิลปะ และจัดแสดง[[นิทรรศการภาพ]]วาดจาก[[สีน้ำมัน]]ครั้งแรกที่ The Royal Academy of Art ในปี [[ค.ศ. 1852]]
เกิด 9 กรกฎาคม ค.ศ.1830
 
-ปี ค.ศ.1852 เขาเริ่มถ่ายภาพ 5 ปีให้หลัง เขาจึงตัดสินใจเปิดสตูดิโอส่วนตัวเพื่อขายภาพ portraits ที่ Lemington และยังได้ก่อตั้งสตูดิโอที่ Kent อีกด้วย ต่อมา ในปี ค.ศ. 1850 เขาได้รับการแนะนำเรื่อง[[กระบวนการคาโลไทพ์]] ( Calotype ) โดย [[ฮิวจ์ ไดอะมอนด์]] (Hugh Diamond) และได้เรียนรู้การใช้ Collodion ซึ่งในความจริงแล้ว นับได้ว่า Hughฮิวจ์ Diamondไดอะมอนด์ คือบุคคลที่มีอิทธิพลสำคัญและเป็นผู้สนับสนุนให้เขาได้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาพถ่าย
เสียชีวิต 21 กุมภาพันธ์ 1901
 
Henry Peach Robinson คือผู้บุกเบิกการถ่ายภาพประกอบ หรือเรียกได้ว่าเป็นดั่งราชาแห่งการถ่ายภาพและเป็นหนึ่งในช่างภาพที่เก่งที่สุดของยุคนั้น Henry Peach Robinson เป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อวงการช่างภาพและการถ่ายภาพมากที่สุด จนกระทั่งถึงยุคของ Peter Henry Emerson ผู้บุกเบิกการถ่ายภาพแบบ naturalistic [เหมือนจริง,เป็นธรรมชาติ]
 
Henry Peach Robinson ได้รับอิทธิพลมากมายจากภาพเขียนและงานเขียนมากมายของ J.M.W.Turner เมื่ออายุได้ 19 ปีเข้าจึงเริ่มสร้างงานศิลปะ และจัดแสดงนิทรรศการภาพวาดจากสีน้ำมันครั้งแรกที่ The Royal Academy of Art ในปี ค.ศ.1852
 
- ปี ค.ศ.1852 เขาเริ่มถ่ายภาพ 5 ปีให้หลัง เขาจึงตัดสินใจเปิดสตูดิโอส่วนตัวเพื่อขายภาพ portraits ที่ Lemington และยังได้ก่อตั้งสตูดิโอที่ Kent อีกด้วย
 
-ปี ค.ศ.1850 เขาได้รับการแนะนำเรื่องกระบวนการคาโลไทพ์ ( Calotype ) โดย Hugh Diamond และได้เรียนรู้การใช้ Collodion ซึ่งในความจริงแล้ว นับได้ว่า Hugh Diamond คือบุคคลที่มีอิทธิพลสำคัญและเป็นผู้สนับสนุนให้เขาได้เป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านภาพถ่าย
-ปี 1857 เขาตัดสินใจเลิกกิจการขาย[[หนังสือ]] เพื่อมาเป็นช่างภาพมืออาชีพ เขา[[โฆษณา]]งานของตนเองในปี ค.ศ.1857 โดยเรียกว่าเป็นการ Going Rate ซึ่งนำเสนอภาพของพี่น้องสองคนอยู่ในเฟรมเดียวกัน ซึ่งมีขนาด up to whole plate (8" by 6") cost 10/6 (just over fifty pence), 15/- (75p) โดยเพิ่มการทาสีบริเวณมือและหน้า และการเพิ่มลักษณะพิเศษเช่นนี้จึ้งทำให้ภาพถ่ายของเขามีราคาสูงขึ้นเป็นเท่าตัว และได้เขียนคำโฆษณาไว้ในภาพว่า “ไม่มีอะไรเหมาะกับสุภาพสตรีทั้งหลายได้เท่าผ้าไหมและซาตินสีเข้มอีกแล้ว,ชุดกำมะหยี่สีดำนั้นไม่ควรใส่หากไม่จำเป็น ส่วนชุดสีขาวและฟ้าอ่อนควรหลีกเลี่ยงหากเป็นไปได้”
-หนึ่งในความแปลกใหม่ในงานของ Henryเฮนรี Peachพีช Robinsonโรบินสัน คือการเพิ่มลายเครือเถาลงไปบนภาพ ซึ่งทำให้ถาพภาพที่ได้ออกมางดงามและมีสเน่ห์เสน่ห์น่าสนใจ
-ภาพ the Lady of Shallot (1882) และ Autumn (1863) เป็นภาพสไตล์ Pre – Raphaelite (ศิลปะของอิตาลีก่อนสมัย[[ราฟาเอล]]) ซึ่งเป็นภาพที่สร้างความประทับใจให้กับ Henry Peach Robinson เป็นอย่างมาก
-ด้วยข้อจำกัดของการถ่ายภาพทำให้เขาเกิดข้อคิดใหม่ๆขึ้นมา โดยการผสมผสานระหว่างภาพถ่ายและ[[การพิมพ์]] ซึ่งเขาได้รับการแนะนำให้รู้จักเทคนิกเช่นนี้โดยเพื่อนของเขาซึ่งก็คือ Oscar Rejlander เทคนิคนี้ยากมากในการเอาภาพคนไปรวมกับภาพท้องฟ้าหรือวัตถุต่างๆ จึงทำให้เขามีภาพ negative ของท้องฟ้าอยู่มากมายเพื่อใช้ในการนำมารวมกับภาพถ่ายของเขา
-กล่าวได้ว่าภาพที่โด่งดังที่สุดของเขาคือภาพ Fading Away ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อปี [[ค.ศ. 1858]] เป็นการนำ[[ฟิล์มเนกาทีฟ]] 5 ฟิล์ม มาซ้อนกันเพื่อให้เกิดภาพขึ้นมา เขาเสนอภาพของเด็กหญิงซึ่งป่วยด้วย[[วัณโรค]]โดยมีสมาชิกในครอบครัวอยู่รายล้อมเธอด้วยความเป็นห่วงและวิตก ภาพนี้เป็นภาพที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างมาก และนักวิจารณ์บางคนก็บอกว่าภาพนี้เป็นภาพที่ไม่เหมาะสมในการถ่ายเป็นอย่างยิ่ง
เนกาทีฟ 5 ฟิล์ม มาซ้อนกันเพื่อให้เกิดภาพขึ้นมา เขาเสนอภาพของเด็กหญิงซึ่งป่วยด้วยวัณโรคโดยมีสมาชิกในครอบครัวอยู่รายล้อมเธอด้วยความเป็นห่วงและวิตก ภาพนี้เป็นภาพที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างมาก และนักวิจารณ์บางคนก็บอกว่าภาพนี้เป็นภาพที่ไม่เหมาะสมในการถ่ายเป็นอย่างยิ่ง
 
-นักวิจารณ์คนหนึ่งกล่าวว่า “โรบินสันได้สื่อความรู้สึกออกมาเพื่อให้คนรับรู้ว่าความเจ็บปวดคือสิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องประสบพบเจอ” ภาพแบบนี้ควรเป็นภาพที่ศิลปินนำมาใช้วาดมากกว่าและไม่ควรเป็นภาพถ่าย แต่อย่างไรก็ตามภาพนี้ได้ก่อให้เกิดความประทับใจและจินตนาการสูงส่งต่อเจ้าชายอัลเบิร์ต ผู้ตัดสินใจซื้อภาพของโรบินสันทุกภาพในเวลาต่อมา
http://www.eastman.org/taschen/htmlsrc6/m197601160001_ful.html#topofimage [ ลิ้งดูรูป Fading Away ]
 
-นักวิจารณ์คนหนึ่งกล่าวว่า “โรบินสันได้สื่อความรู้สึกออกมาเพื่อให้คนรับรู้ว่าความเจ็บปวดคือสิ่งที่มนุษย์ทุกคนต้องประสบพบเจอ” ภาพแบบนี้ควรเป็นภาพที่ศิลปินนำมาใช้วาดมากกว่าและไม่ควรเป็นภาพถ่าย แต่อย่างไรก็ตามภาพนี้ได้ก่อให้เกิดความประทับใจและจินตนาการสูงส่งต่อเจ้าชายอัลเบิร์ต ผู้ตัดสินใจซื้อภาพของโรบินสันทุกภาพในเวลาต่อมา
'''**ถือได้ว่าภาพ fading away เป็นภาพตัดต่อโดยการใช้ฟิล์มภาพแรกก็ว่าได้'''
 
-ในยุคนี้เป็นยุคที่เกิดความแบ่งแยกและขัดแย้งระหว่างศิลปะและวิทยาศาสตร์อย่างเห็นได้ชัด ในปี 1860
-ในยุคนี้เป็นยุคที่เกิดความแบ่งแยกและขัดแย้งระหว่างศิลปะและวิทยาศาสตร์อย่างเห็นได้ชัด ในปี 1860
โรบินสันได้นำเสนอทฤษฎีของเขาในการประชุมของ The photographic society of Scotland ซึ่งงานนี้เขาได้รับการต้อนรับคือเสี่ยงโห่เยาะเย้ยจากผู้ต่อต้านทฤษฎีของเขามากมายซึ่งอ้างว่างานของโรบินสันคือการโป้ปดหลอกลวง มีการวิพากษ์วิจารณ์และปรึกษาหารือกันมากมาย จนได้บทสรุปว่างานของโรบินสันคืองานแบบ
ปะติด มากกว่าการพิมพ์ ซึ่งโรบินสันก็ได้โต้แย้งไปว่า อีกหน่อยในอนาคต งานของเขาจะพิสูจน์ตัวของมันเอง
เส้น 42 ⟶ 29:
“ทุกๆเล่ห์เหลี่ยม อุบาย หรือการเล่นกล ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ช่างถ่ายภาพทุกคนใช้ทั้งนั้น มันเป็นหน้าที่ที่เลี่ยงไม่ได้ของช่างภาพ เพราะการถ่ายภาพให้สวยงามนั้นต้องอาศัยมุมมอง และเทคนิกต่างๆมากมายเพื่อหลบเลี่ยงความไม่สวยงามที่จะเกิดขึ้นในภาพถ่าย”
-ในช่วงเวลาที่วิทยาศาสตร์ครอบงำวงการภาพถ่ายโดยไม่หมาะสม โรบินสันให้ความสำคัญของการมองเห็นมากกว่า คำแนะนำที่ดีของเขาคือ
 
“ถึงแม้ว่าคนส่วนใหญ่จะรักภาพทิวทัศน์ที่งดงาม แต่ความรักนั้นจะยกระดับขึ้นได้หากพวกเขาใช้สายตาแป่งศิลปะในการมองและรับรู้ว่าความสวยงามที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากอะไร หากเขาสามารถแยกแยะความต่างและรับรู้ถึงอิทธิพลและความลงตัวที่ธรรมชาตินำเสนอออกมา แต่คนส่วนใหญ่ชอบที่จะมองสิ่งที่อยู่ตรงหน้ามากกว่าไตร่ตรองให้ลึกซึ้ง”
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.eastman.org/taschen/htmlsrc6/m197601160001_ful.html#topofimage [ ลิ้งดูรูปรูป Fading Away ]
* [http://www.rleggat.com/photohistory/history/robinson.htm history of photography HP Robinson]
 
[[หมวดหมู่:บุคคลในวงการถ่ายภาพ]]
{{birth|1830}}
{{death|1901}}
 
[[en:Henry Peach Robinson]]
'''แปลโดย นายณรงค์ฉัตร ราชชมภู
[[es:Henry Peach Robinson]]
นักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต คณะศิลปะและการออกแบบ
[[it:Henry Peach Robinson]]
สาขาศิลปภาพถ่าย รหัส 491156
 
หากผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย'''