ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทยถิ่นเหนือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
 
== ชื่อ ==
ภาษาถิ่นภาคพายัพมีชื่อเรียกหลายชื่อ โดยภาษาจาก[[ตระกูลภาษาไท]]ต่าง ๆ มีชื่อเรียกซึ่งคล้ายคลึงหรือไม่เหมือนกันฟูนฟินงาย
* ในภาษาถิ่นพายัพเอง มักเรียกว่า "กำเมือง" (รูปปริวรรต: คำเมือง) อันแปลว่า "ภาษาของเมือง" หรืออีกชื่อหนึ่งว่า "ภาษาล้านนา" ส่วนชาวยวนในจังหวัดราชบุรี เรียกภาษาของตนว่า "ภาษาลาว"<ref>{{cite web |url=http://kwannthp.wordpress.com/2011/12/22/ประเพณีไทยวน-thai-yuan/|title=วิถีชีวิตและภาษา|author= |date=|work= |publisher=Thai Yuan Festival|accessdate=29 ธันวาคม 2556}}</ref>
* [[ภาษาไทย|ภาษาไทยมาตรฐาน]] เรียกว่า "ภาษาถิ่นพายัพ", "ภาษาไทยถิ่นเหนือ" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "ภาษาเหนือ" หรือ "ภาษายวน" ในอดีตเรียก "ลาวเฉียง" หรือ "คำเฉียง"<ref>[[จิตร ภูมิศักดิ์]]. ''ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ชนนิยม. 2556, หน้า 139</ref>