ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปาก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
แก้อ้างอิง
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 13:
| eMedicine = 906999-treatment
}}
'''การรักษาด้วยการให้สารน้ำทางปาก''' ({{lang-en|oral rehydration therapy}}) เป็นการรักษาด้วย[[การชดเชยสารน้ำ]]วิธีหนึ่ง ใช้เพื่อรักษาหรือป้องกัน[[การขาดน้ำ]] โดยเฉพาะการขาดน้ำที่เกิดจากภาวะ[[ท้องร่วง]]<ref name=WHO2008/> ทำโดยให้ผู้ป่วยดื่มน้ำที่ผสมเกลือและน้ำตาลเล็กน้อย<ref name=WHO2008/> อาจให้ด้วยการกินตามปกติหรือให้ผ่าน[[Nasogastric intubation|สายให้อาหาร]]ชนิดใส่ผ่านจมูกก็ได้<ref name=WHO2008/> โดยปกติจะแนะนำให้เสริมสังกะสีร่วมด้วยในการรักษา<ref name=WHO2008>{{cite book|title=WHO Model Formulary 2008|date=2009|publisher=World Health Organization|isbn=9789241547659|pages=349–351|url=http://apps.who.int/medicinedocs/documents/s16879e/s16879e.pdf|accessdate=8 January 2017|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20161213060118/http://apps.who.int/medicinedocs/documents/s16879e/s16879e.pdf|archivedate=13 December 2016|df=}}</ref> การรักษาด้วยวิธีนี้สามารถลดอัตราการเสียชีวิตจากท้องร่วงลงได้ถึง 93%<ref name=Mun2010>{{cite journal|last1=Munos|first1=MK|last2=Walker|first2=CL|last3=Black|first3=RE|title=The effect of oral rehydration solution and recommended home fluids on diarrhoea mortality.|journal=International Journal of Epidemiology|date=April 2010|volume=39 Suppl 1|pages=i75-87|pmid=20348131|doi=10.1093/ije/dyq025|pmc=2845864}}</ref>
 
ผลข้างเคียงที่อาจพบได้ ได้แก่ อาเจียน โซเดียมในเลือดสูง หรือโปแตสเซียมในเลือดสูง หากผู้ป่วยกินสารละลายแล้วอาเจียนแนะนำให้พักก่อน 10 นาที แล้วค่อยๆ กินใหม่ สูตรของสารละลายที่แนะนำจะประกอบด้วย โซเดียมคลอไรด์ โซเดียมซิเตรต โปแตสเซียมคลอไรด์ และกลูโคส หากไม่มีอาจใช้ซูโครสแทนกลูโคส และใช้โซเดียมไบคาร์บอเนตแทนโซเดียมซิเตรตได้ กลูโคสจะช่วยให้เซลล์ในลำไส้ดูดซึมน้ำและโซเดียมได้ดีขึ้น นอกจากสูตรนี้แล้วยังมีสูตรดัดแปลงอื่นๆ เช่นสูตรที่สามารถทำได้เองที่บ้าน อย่างไรก็สูตรที่ทำได้เองเหล่านี้ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยที่ยืนยันผลการรักษา