ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิ่งมีชีวิตตัวแบบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ+บทความเดิม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
แต่วิธีการรักษาและยาจำนวนมากที่ใช้ในโรคมนุษย์ ก็ได้พัฒนาอาศัยแนวคิดที่ได้จากสัตว์ตัวแบบเป็นบางส่วน<ref name="zam">
{{Cite journal | date = 2009-02 | title = Zebrafish: a complete animal model for in vivo drug discovery and development | journal = Current Drug Metabolism | volume = 10 | issue = 21 | pages = 116-24 | doi = 10.2174/138920009787522197 | pmid = 19275547 | subscription = yes | authors = Chakraborty, CH; Hsu, CH; Wen, ZH; Lin, CS; Agoramoorthy, G}}</ref><ref name=zrug>
{{Cite journal | doi = 10.1038/sj.clpt.6100223 | date = 2007-07 | last1 = Kari | first1 = G. | last2 = Rodeck | first2 = U. | last3 = Dicker | first3 = A. P. | title = Zebrafish: an emerging model system for human disease and drug discovery | volume = 82 | issue = 1 | pages = 70-80 | issn = 0009-9236 | pmid = 17495877 | journal = Clinical Pharmacology and Therapeutics }}</ref>
 
มีแบบจำลองโรค 3 ประเภทหลัก ๆ คือ homologous (กำเนิดเดียวกัน), isomorphic (สมสัณฐาน) และ predictive (พยากรณ์)
สัตว์จำลองแบบกำเนิดเดียวกันจะมีเหตุโรค อาการ และการรักษาเหมือนกับของมนุษย์ที่มีโรค
สัตว์จำลองแบบสมสัณฐานจะมีอาการและการรักษาเหมือนกัน
สัตว์จำลองแบบพยากรณ์จะมีสภาพเพียงแค่บางอย่างที่คล้ายกับมนุษย์ที่ผู้มีโรคเพียงแค่บางอย่าง แต่ก็มีประโยชน์ในการคาดหมายกลไกต่าง ๆ เกี่ยวกับโรค<ref>{{cite web | url = http://academic.uprm.edu/~ephoebus/id85.htm | title = Pinel Chapter 6 - Human Brain Damage & Animal Models | publisher = Academic.uprm.edu | accessdate = 2014-01-10}}</ref>
 
== เชิงอรรถและอ้างอิง ==