ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดุสิต เซ็นทรัล พาร์ค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้างห้างสรรพสินค้า
{{ล้าสมัย}}
| ภาพ = [[ไฟล์:DusitThaniHotel-unofficial-render-2019.jpg|300px]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
| caption = ภาพเรนเดอร์โครงการ
{{รอการตรวจสอบ}}
| เมืองที่ตั้ง = ถนนพระรามที่ 4 =แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
| เปิด = พ.ศ. 2564 (ศูนย์การค้า)<br>พ.ศ. 2567 (ทั้งโครงการ)
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = โรงแรมดุสิตธานี
| สถานะ = <span style="color:#ff7e00;">อยู่ในระหว่างการรื้อถอนโครงสร้างเดิม/เตรียมการก่อสร้าง</span>
| ชื่อภาษาอื่น = Dusit Thani Hotel
| การใช้งาน = [[ศูนย์การค้า]] [[โรงแรม]] [[ที่พักอาศัย]] [[อาคารสำนักงาน]]
| ชื่อเดิม =
| GFA = 403,000 ตารางเมตร<ref>[http://dtc.listedcompany.com/newsroom/130320170904560235T.pdf แจ้งกำหนดวัน วาระการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปี 2560 การจ่ายเงินปันผล การเข้าร่วมลงทุนในโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์รูปแบบผสม (Mixed Use) (แก้ไขขนาดรายการจำหน่ายไป) และการแต่งตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่างลง - บมจ.ดุสิตธานี]</ref>
| ภาพ = Dusit Thani.jpg
| GLA =
| คำบรรยายภาพ = โรงแรมดุสิตธานี
| NLA =
| สิ่งก่อสร้าง = โรงแรม
| เจ้าของอาคาร = บริษัท วิมานสุริยา จำกัด
| เมืองที่ตั้ง = [[เขตบางรัก]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| บริหารอาคาร = บริษัท สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้ จำกัด
| ประเทศที่ตั้ง = {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]]
| ที่จอดรถ =
| ปีสร้าง = พ.ศ. 2511
| ชั้น = 40 ชั้น (อาคาร 1)<br>78 ชั้น (อาคาร 2)<br>46 ชั้น (อาคาร 3)
| ผู้สร้าง = [[เครือดุสิตธานี]]
| เนื้อที่ = 23 ไร่ 2 งาน 2.72 ตารางวา
| ปีรื้อ = พ.ศ. 2561
| กรรมสิทธิ์ที่ดิน = เช่า 30 ปี (สิ้นสุด พ.ศ. 2597)
| ปีบูรณะ =
| ผู้บูรณะให้เช่า = [[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] =ผ่าน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนาดุสิตธานี จำกัด (มหาชน)
| เว็บไซต์ =
| แบบสถาปัตยกรรม =
| โครงสร้าง =
| ขนาด =
| รายละเอียดอื่น =
| สถาปนิก = โยโซะ ชิบาตะ
| วิศวกร =
| ผู้ตกแต่งภายใน =
| สวน =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล =
| สิ่งที่น่าสนใจ =
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
}}
 
'''ดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค''' เป็นโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แบบประสมขนาดใหญ่ บนที่ดินขนาด 23 ไร่ 2 งาน 2.72 ตารางวา บริเวณหัวมุม [[ถนนพระราม 4]] ตัด[[ถนนสีลม]] ตรงข้ามกับ[[สวนลุมพินี]] ในพื้นที่แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพื้นที่เดิมของ '''โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ''' และ '''บริษัท ไทยประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) สำนักงานสีลม''' บริหารงานโดย บริษัท วิมานสุริยา จำกัด ภายใต้การร่วมทุนของ [[เครือดุสิตธานี|บริษัท ดุสิตธานี จำกัด (มหาชน)]] และ [[กลุ่มเซ็นทรัล]] โดย [[เซ็นทรัลพัฒนา|บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน)]] ตั้งเป้าขึ้นเป็น[[หลักเขตที่ดิน|แลนด์มาร์ค]]หนึ่งของเส้นขอบฟ้า[[กรุงเทพมหานคร]] ด้วยความสูงสุดของอาคารที่ 78 ชั้น ภายใต้สถาปัตยกรรมแบบไทยโบราณร่วมกับสถาปัตยกรรมแบบไทยร่วมสมัย รองรับกลุ่มลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
'''โรงแรมดุสิตธานี''' เป็น[[โรงแรม]]เก่าแก่แห่งหนึ่งใน[[เครือดุสิตธานี]]ของ[[ประเทศไทย]] ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 946 ถนนพระราม 4 แขวงสีลม [[เขตบางรัก]] กรุงเทพมหานคร อยู่บริเวณ[[ถนนสีลม]] ตัดกับ[[ถนนพระราม 4]] ตรงข้ามกับ[[สวนลุมพินี]] ก่อตั้งโดย[[ท่านผู้หญิงชนัตถ์ ปิยะอุย]] สร้างขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2511]] มีความสูง 23 ชั้น เป็นอาคารสูงหลังแรกในประเทศไทย สถานที่ตั้งโรงแรม เดิมเป็นบ้านศาลาแดง ของ[[เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)]]
 
==ประวัติ==
ใน พ.ศ. 2560 เครือดุสิตธานีได้ประกาศความร่วมมือกับ [[กลุ่มเซ็นทรัล]]โดย[[เซ็นทรัลพัฒนา]] ในการปรับโฉมโรงแรมดุสิตธานีให้เป็นอาคารพาณิชยกรรมแบบประสม ประกอบด้วย ศูนย์การค้า โรงแรม และอาคารสำนักงาน ภายใต้งบลงทุน 36,700 ล้านบาท แบ่งเป็นการดำเนินการเช่าช่วงที่ดินจากสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ระยะเวลา 30 ปี ค่าดำเนินการพัฒนาโครงการ รวมถึงจัดตั้งบริษัทร่วมทุน<ref>[http://cpn.listedcompany.com/newsroom/010320170838000836T.pdf รายการได้มาและจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ - บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา]</ref> ซึ่งจะดำเนินการรื้อถอนอาคารทั้งหมด รวมถึงอาคารที่เกี่ยวเนื่องภายใน พ.ศ. 2561 ก่อนเริ่มดำเนินการก่อสร้างต่อไป
[[ไฟล์:Dusit Thani.jpg|thumb|200px|left|โรงแรมดุสิตธานี ใน พ.ศ. 2556]]
พื้นที่ของโครงการดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค แต่เดิมแล้วเป็นบ้านศาลาแดง ของ[[เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)]] โดย[[ท่านผู้หญิงชนัตถ์ ปิยะอุย]] ผู้ก่อตั้งและที่ปรึกษาคณะกรรมการโรงแรม ปริ๊นเซส ได้ดำเนินการขอเช่าพื้นที่เพื่อก่อสร้างโรงแรมระดับห้าดาวที่หรูหราแห่งแรกในกรุงเทพมหานครเมื่อ [[พ.ศ. 2513]] ภายใต้ชื่อ '''โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ''' ตัวอาคารมีความสูง 23 ชั้น นับเป็นอาคารสูงหลังแรกในประเทศไทย และใช้สถาปัตยกรรมแบบไทยเดิมร่วมสมัย ภายใต้การบริการที่เป็นเลิศอย่างดีเยี่ยม
 
โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ ดำเนินการมาได้กว่า 47 ปี จนใน พ.ศ. 2560 เครือดุสิตธานีได้ประกาศยุติกิจการโรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ พร้อมประกาศความร่วมมือกับ [[กลุ่มเซ็นทรัล]]โดย[[เซ็นทรัลพัฒนา]] ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบประสมขนาดใหญ่<ref>[http://cpn.listedcompany.com/newsroom/010320170838000836T.pdf รายการได้มาและจำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ - บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา]</ref> ซึ่งจะช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของโรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ แห่งใหม่ และนับเป็นการพัฒนาโครงการตามจุดประสงค์ของแต่ละบริษัท โดยโรงแรมจะเลิกกิจการภายในเดือนมกราคม พ.ศ. 2562 และจะดำเนินการรื้อถอนอาคารทั้งหมด เพื่อเริ่มดำเนินการก่อสร้างโครงการใหม่ต่อไป
 
โครงการใหม่ใช้งบลงทุนกว่า 40,000 ล้านบาทโดยคิดจากมูลค่าตอบแทนของการลงทุนในโครงสร้างอาคารและที่ดิน และมีกำหนดเปิดใช้อาคารอย่างไม่เป็นทางการเฉพาะฐานรากและฐานอาคารภายใน พ.ศ. 2564 และมีกำหนดเปิดใช้ทั้งโครงการภายใน พ.ศ. 2567
 
==ส่วนประกอบของโครงการและการจัดสรรพื้นที่==
ดุสิต เซ็นทรัล ปาร์ค มีพื้นที่ประกอบทั้งหมดสี่ส่วน ประกอบด้วย
 
* ส่วนฐานอาคาร เป็นโครงการศูนย์การค้าขนาดใหญ่ มีพื้นที่หลักเป็นห้างสรรพสินค้าและร้านค้าเฉพาะทางในกลุ่มเซ็นทรัล
* อาคารสำนักงาน บริหารงานโดย บริษัท ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์ จำกัด
* อาคารที่พักอาศัย บริหารงานโดย บริษัท วิมานสุริยา จำกัด
* โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ แห่งใหม่ โดย บริษัท ดุสิตธานี จำกัด (มหาชน)
 
==อ้างอิง==
เส้น 44 ⟶ 45:
{{สร้างปี|2511}}
 
{{กลุ่มเซ็นทรัล/ศูนย์การค้า}}
{{ตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร}}
 
[[หมวดหมู่:เขตบางรัก|ร]]
[[หมวดหมู่:โรงแรมในกรุงเทพมหานคร|ดุสิตธานี]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มเซ็นทรัล]]
[[หมวดหมู่:ศูนย์การค้าในกรุงเทพมหานคร]]