ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รักนาร็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Urnes animals.jpg|thumb|ประตูทิศเหนือของ[[โบสถ์ไม้แห่งอูร์เนส]]ที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ได้รับการตีความว่าการที่มีรายละเอียดของงูและมังกรนั้น เป็นตัวแทนของแรกนะร็อก<ref name=FAZIO201>Fazio, Moffet, Wodehouse (2003:201).</ref>]]
 
ใน[[เทพปกรณัมนอร์ส]]'''ธอร์''' '''แรกนะร็อก''' (Ragnarök, {{IPAc-en|UK|ˈ|r|æ|ɡ|n|ər|ɜː|k}},<ref>''Oxford English Dictionary'', s.v. "Ragnarök," http://dictionary.oed.com/cgi/entry/50196452 (subscription needed) . Retrieved April 23, 2009.</ref> {{IPAc-en|US|ˈ|r|æ|ɡ|n|ər|ɒ|k}} หรือ {{IPAc-en|ˈ|r|æ|ɡ|n|ər|ə|k}}<ref>Merriam-Webster</ref>) เป็นชุดเหตุการณ์ในอนาคต ประกอบด้วย การยุทธครั้งใหญ่ตามคำทำนายซึ่งนำไปสู่การสิ้นชีพของเหล่าเทพที่สำคัญ (ประกอบด้วย [[อีเซอร์|เทพ]][[โอดิน]], [[ทอร์]], [[เทียร์]], [[เฟรย์]], [[เฮมดาลล์]], และ[[โลกิ]]) ในท้ายที่สุด, การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติต่างๆ และการที่แผ่นดินจมลงใต้สมุทรตามลำดับ ต่อจากนั้น แผ่นดินจะผุดขึ้นจากทะเลอีกครั้ง และกลับมาอุดมสมบูรณ์ เทพที่รอดชีวิตและเทพผู้กลับมาจากความตายจะมาพบกัน โลกจะกลับมามีพลเมืองด้วยมนุษย์สองคนที่เหลือรอด แรกนะร็อกเป็นเหตุการณ์สำคัญในทางความเชื่อและศาสนาของนอร์ส และเป็นหัวข้อของวจนิพนธ์ทางวิชาการและทฤษฎี
 
ตามที่มีหลักฐานยืนยัน เหตุการณ์นี้ได้รับการบันทึกครั้งแรกใน ''[[บทกวีเอ็ดดา]]'' ซึ่งแปลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากบันทึกโบราณ และ[[บทร้อยแก้วเอ็ดดา]]ที่เขียนขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดย[[สนอร์รี สเทอร์ลิวซัน]] ใน ''มหากาพย์เอ็ดดา'' และกลอนบทหนึ่งใน ''บทกวีเอ็ดดา'' เหตุการณ์นี้เรียกว่า '''Ragnarök''' หรือ '''Ragnarøkkr''' (ภาษานอร์สโบราณ แปลว่า "ชะตากรรมของเหล่าทวยเทพ" หรือ "สนธยาของเหล่าทวยเทพ" ตามลำดับ) การนำไปใช้งานที่มีชื่อเสียงกระทำโดยนักแต่งเพลงคริสต์ศตวรรษที่ 19 [[ริชาร์ด วากเนอร์]] ใช้เป็นหัวเรื่องดนตรีอุปรากร ''[[ปกรณัมแหวนแห่งนิเบลุงเกน]]'' องค์สุดท้ายของเขา ''[[เกิทเทอร์เดมเมอร์รุง]]'' (ค.ศ. 1876)