ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะแคโรไลน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| name = เกาะแคโรไลน์
| image name = NASA-CarolineAtoll.jpg
| image caption = ภาพถ่ายทางอากาศของนาซาแสดงส่วนประกอบของเกาะแคโรไลน์ ทิศเหนืออยู่ทางขวามือบนของภาพ[[เกาะเล็ก]]ใหญ่สุด 2 เกาะ คือ เนกไอซ์ลิตเนกไอลิต (บน) และเซาท์ไอซ์ไอลิต (ล่าง)
| pushpin_map = [[คิริบาส]]
| pushpin_map_caption =
บรรทัด 43:
}}
 
'''เกาะแคโรไลน์''' ({{lang-en|Caroline Island}}) หรือ '''อะทอลล์แคโรไลน์อะทอลล์''' ({{lang-en|Caroline Atoll}}) บ้างเรียก '''เกาะมิลเลเนียมลเลยเนียม''' ({{lang-en|Millennium Island}}) และ '''เกาะเบสซีซา''' ({{lang-en|Beccisa Island}}) เป็น[[อะทอลล์|เกาะปะการังวงแหวน]]ไร้คนอาศัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[หมู่เกาะไลน์]]ใต้ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ตอนกลาง
 
ชาวยุโรปพบเกาะนี้ครั้งแรกเมื่อประมาณ พ.ศ. 2149 [[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]]อ้างสิทธิเหนือเกาะใน พ.ศ. 2411 และกลายเป็นส่วนหนึ่งของ[[ประเทศคิริบาส]]หลังได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2522 เกาะแคโรไลน์แทบไม่มีคนบุกรุก และถือเป็นเกาะ[[เขตร้อน]]ในสภาพดั้งเดิมมากที่สุดเกาะหนึ่ง แม้มีการทำ[[ปุ๋ยขี้นก]], การเก็บเกี่ยวลูกมะพร้าวแห้งและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 เกาะนี้เป็นถิ่นอาศัยของ[[ปูมะพร้าว]]ใหญ่สุดแห่งหนึ่งของโลก และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์[[นกทะเล]]โดยเฉพาะนกจำพวก[[sooty tern|นกนางนวลแกลบดำ]]ที่สำคัญอีกด้วย
บรรทัด 49:
ปัจจุบันเกาะนี้เป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า<ref name="IRD">{{cite web| last = Edward R. Lovell, Taratau Kirata & Tooti Tekinaiti | first = | work= Centre IRD de Nouméa |title= Status report for Kiribati's coral reefs|date =September 2002 |url= http://horizon.documentation.ird.fr/exl-doc/pleins_textes/divers14-11/010032214.pdf| accessdate=15 May 2015}}</ref> เมื่อ พ.ศ. 2557 รัฐบาลคิริบาติจัดตั้งเขตห้ามทำประมง 12 ไมล์ทะเลรอบ[[หมู่เกาะไลน์]]ใต้<ref name="SLIE">{{cite web| last = Warne| first = Kennedy | work= National Geographic |title= A World Apart – The Southern Line Islands |date =September 2014 |url= http://ocean.nationalgeographic.com/ocean/explore/pristine-seas/southern-line-islands/| accessdate=15 May 2015}}</ref>
 
เกาะนี้ขึ้นชื่อจากบบาทในการเฉลิมฉลองสหัสวรรษ หลังมีการปรับเปลี่ยน[[เส้นแบ่งเขตวันสากล]]ใน พ.ศ. 2538 ทำให้เกาะแคโรไลน์เป็นหนึ่งในจุดแรก ๆ บนโลกที่ย่างเข้าวันที่ 1 มกราคม 2543 ในปฏิทิน
 
== ภูมิศาสตร์และภูมิอากาศ ==
บรรทัด 56:
 
<!-- กลุ่มเกาะ -->
เกาะแคโรไลน์ประกอบด้วย[[เกาะเล็ก]]ขนาดใหญ่ 3 เกาะ ประกอบด้วย เกาะเล็กเนกพื้นที่เนกไอลิต พื้นที่ 1.04 ตารางกิโลเมตรอยู่ทางตอนเหนือ, เกาะเล็กลองไอลิต พื้นที่ 0.76 ตารางกิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของลากูน และเกาะเล็กเซาท์มีไอลิต พื้นที่ 1.07 ตารางกิโลเมตรทางตอนใต้<ref name="oceandots">{{cite web | title=Line Islands - Millennium | work=Oceandots.com | url=http://www.oceandots.com/pacific/line/caroline.php | archiveurl=https://web.archive.org/web/20101223015139/http://www.oceandots.com/pacific/line/caroline.php | archivedate=2010-12-23 | accessdate=2006-06-11}}</ref> ส่วนเกาะเล็กขนาดเล็กอื่นที่เหลือ ซึ่งส่วนใหญ่ได้ชื่อระหว่างการสำรวจระบบนิเวศของ[[แองเจลาแอนจิลา เคปเลอร์|แองเจแอนจิลาและคาแคเมรอนอรอน เคปเลอร์]] ใน พ.ศ. 2531 แบ่งเป็นกลุ่มเกาะหลักสี่กลุ่มหลักคือ กลุ่มเกาะเล็กเซาท์เนกเนกไอลิตส์, กลุ่มเกาะเล็กเซ็นเตอร์เซ็นทรัลลีเวิร์ดไอลิตส์, กลุ่มเกาะเล็กเซาเทิร์นลีเวิร์ดไอลิตส์ และกลุ่มเกาะเล็กวินเวิร์ดวินด์เวิร์ดไอลิตส์ ([https://web.archive.org/web/20101223043232/http://www.oceandots.com/pacific/line/caroline3.php ดูแผนที่ประกอบ]) กลุ่มเกาะของแคโรไลน์มีอายุสั้นตลอดช่วงการสังเกตหนึ่งศตวรรษ มีบันทึกว่าเกาะเล็กสุดหลายเกาะปรากฏหรือหายไปทั้งหมดหลังพายุใหญ่ ส่วนรูปร่างของเกาะเล็กขนาดใหญ่ก็เปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญ<ref name="oceandots"/><ref name="ARB">{{cite journal | first = Angela K. | last = Kepler | authorlink = |author2=Cameron B. Kepler |date=February 1994 | title = The natural history of the Caroline Atoll, Southern Line Islands | journal = Atoll Research Bulletin | volume = 397–398 | url =http://www.sil.si.edu/DigitalCollections/atollresearchbulletin/issues/00397.pdf | format = PDF}}</ref>
 
<!-- ลากูน -->
[[ลากูน]]ศูนย์กลางมีขนาดประมาณ 6 × 0.5 กิโลเมตร เป็นลากูนตื้นลึกสุดประมาณ 5–7 เมตร มีแนวปะการังและกลุ่มปะการังบนพื้นทรายแคบ ๆ ข้ามไปมา ปะการังแนวราบปกติขยายไปประมาณ 500 เมตรจากฝั่ง แม้บางแหล่งรายงานว่าขยายไปกว่าหนึ่งกิโลเมตรจากฝั่ง ทำให้การจอดเรือมีอันตรายยกเว้นเมื่อน้ำขึ้น <ref name="oceandots"/> ไม่มีที่ขึ้นฝั่งธรรมชาติ ที่ทอดสมอหรือช่องน้ำลึกเข้าสู่ลากูนศูนย์กลาง น้ำซึ่งล้นเข้าสู่ลากูนจากช่องตื้นเมื่อน้ำขึ้นขังอยู่ในปะการังโดยรอบและยังเสถียรอยู่แม้มีน้ำขึ้นลงมหาสมุทร ปกติขึ้นฝั่งส่วนมากที่รอยแยกเล็ก ๆ ในปะการัง ณ มุมตะวันออกเฉียงเหนือของเซาท์ไอส์ลิต<ref name="ARB"/>
 
[[ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Long.JPG|thumb|left|เกาะเล็กของเกาะแคโรไลน์จำนวนมากมีร่องน้ำตื้นคั่น ด้านหน้าเป็นหาดซากปะการังและไม้พุ่ม ''Tournefortia'' บนไอส์ลิตลองลองไอลิต ในพื้นหลัง ป่า ''Pisonia'' และแถวต้นปาล์มมะพร้าวที่มิใช่พื้นเมืองบนไอส์ลิตเนกเนกไอลิต]]
ในบางส่วนของลากูนมีความหนาแน่นของ[[หอยมือเสือยักษ์]]มากถึงสี่ตัวต่อตารางฟุต<ref name="SLIE">{{cite web| last = Warne| first = Kennedy | work= National Geographic |title= A World Apart – The Southern Line Islands |date =September 2014 |url= http://ocean.nationalgeographic.com/ocean/explore/pristine-seas/southern-line-islands/| accessdate=15 May 2015}}</ref> ชนิดทีที่พบบ่อยสุด คือ [[หอยมือเสือเม็กซิมา]] (''Tridacna maxima'') และ[[หอยมือเสือยักษ์]] (''Tridacna gigas'')<ref name="SLIE"/> นอกจากนี้ลากูนยังเป็นถิ่นอาศัยอนุบาลของปลาหลายชนิดรวมทั้งชนิดที่สำคัญและถูกจับอย่างหนัก เช่น [[ปลาฉลามครีบดำ]] (''Carcharhinus melanopterus'') และ[[ปลานโปเลียน]] (''Cheilinus undulatus'') ที่ใกล้สูญพันธุ์<ref name="KLB"> {{cite journal|ref=|last1= Katie L. Barott, et al. |first1= |title= The Lagoon at Caroline/Millennium Atoll, Republic of Kiribati: Natural History of a Nearly Pristine Ecosystem|url= http://www.geosociety.org/gsatoday/archive/19/3/pdf/i1052-5173-19-3-4.pdf|year= 3 June 2010 |journal= PLoS ONE|volume=5|issue=6|pages= |accessdate=22 January 2017}}</ref>
 
[[ไฟล์:Kiribati-Caroline-highlighted.PNG|thumb|200px|เกาะแคโรไลน์ (''วงกลมสีแดงด้านล่างขวา'') เป็นเกาะที่อยู่ทางตะวันออกสุดของ[[ประเทศคิริบาส]]]]
 
<!-- อุทกวิทยาและดิน -->
เกาะแคโรไลน์ไม่มีแหล่งน้ำจืดนิ่งแต่เนกไอส์เนกไอลิตและเซาท์ไอส์ไอลิตนั้นมี[[ชั้นหินอุ้มน้ำ]]ใต้ดินอยู่ และมีการสร้างบ่อน้ำเพื่อเจาะเอาน้ำดื่มสำหรับนิคมชั่วคราว<ref name="Resture">{{cite book | last = Bryan | first = E.H. | authorlink = | year = 1942 | title = American Polynesia and the Hawaiian Chain | publisher = Tongg Publishing Company | location = Honolulu | id = }}</ref> ดินบนเกาะเลวพอ ๆ กัน ลักษณะเป็นกรวดปะการังและทรายเป็นหลัก โดยมีองค์ประกอบอินทรีย์ที่สำคัญอยู่เฉพาะศูนย์กลางของเกาะที่มีสภาพเป็นป่าเสถียรเท่านั้น การทับถมของ[[ปุ๋ยขี้นก]]ทำให้บริเวณที่มีปุ๋ยนี้อุดมด้วย[[ไนโตรเจน]] แต่แม้ในบริเวณที่มีอายุมากสุดและมีพืชพรรณมากที่สุดของเกาะ ดินก็ยังหนาไม่กี่เซนติเมตร<ref name="ARB"/>
 
<!-- สภาพภูมิอากาศและทะเล -->
บรรทัด 80:
แม้มนุษย์มีผลกระทบเป็นครั้งคราวต่อเกาะแคโรไลน์เป็นเวลากว่าสามศตวรรษ แต่เกาะนี้ยังถือเป็นเกาะเขตร้อนสภาพใกล้เคียงดั้งเดิมหนึ่งในไม่กี่แห่งที่ยังเหลืออยู่<ref name="ARB"/> และยังได้รับการจัดอันดับให้เป็น[[เกาะปะการังรูปวงแหวน]]แปซิฟิกที่บริสุทธิ์ที่สุดแห่งหนึ่ง<ref name="unspoiled">{{cite web | title=Islands by Human Impact Index | work=U.N. Earthwatch Island Directory Tables | url=http://islands.unep.ch/Tisolat.htm | accessdate=2006-07-05}}</ref> สภาพแทบไม่ถูกรบกวนของเกาะทำให้เกาะแคโรไลน์ได้รับกำหนดให้เป็นแหล่ง[[มรดกโลก]]และ[[เขตสงวนชีวมณฑล]] มีการสำรวจนิเวศวิทยาบันทึกสัตว์และพืชของเกาะเป็นระยะในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ โครงการสำรวจชีววิทยามหาสมุทรแปซิฟิกเยี่ยมเกาะใน พ.ศ. 2508 การสำรวจเกาะไลน์ พ.ศ. 2517 หน่วยอนุรักษ์สัตว์ป่าของ[[โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ]]ใน พ.ศ. 2531 และ พ.ศ. 2534<ref name="Teataata">{{cite book | author = Scott, Derek A. (ed) | authorlink = | year = 1993 | title = A Directory of Wetlands in Oceania | publisher = International Waterfowl and Wetlands Research Bureau | location = Slimbridge, UK | isbn = 0-9505731-2-4 }}</ref>
 
เกาะแคโรไลน์มีพืชพรรณหนาแน่น เกาะเล็กส่วนมากมีเขตพืชพรรณวงแหวนสามวง ได้แก่ เขตนอกพรมพืชล้มลุก ซึ่งประกอบด้วย ''[[Heliotropium anomalum]]'' เป็นหลัก เขตในกว่าเป็น[[ไม้พุ่ม]] ซึ่งมี[[งวงช้างทะเล]] (''Heliotropium foertherianum'') เป็นหลัก และบริเวณป่าใจกลางมักซึ่งมีไม้ต้น ''[[Pisonia grandis]]'' มากที่สุด นอกจากนี้ยังมีการนำต้นมะพร้าวและมีอยู่ปริมาณค่อนข้างมากในเกาะเล็กขนาดใหญ่ ๆ แบบรูปพรรณพืชนี้เป็นเหมือนกันในเกาะเล็กขนาดใหญ่ ๆ ส่วนเกาะเล็กขนาดเล็กไม่มีป่าใจกลางและเกาะเล็กสุดจะมีเฉพาะไม้ล้มลุกเตี้ยเท่านั้น<ref name="ARB"/> พืชที่พบมากอื่น เช่น ''[[Suriana|Suriana maritima]]'' และ[[ยอ]] (''Morinda citrifolia'')<ref name="Teataata2">{{cite web | author=Teataata, Aobure | year=1998| title=Caroline Atoll | work=Protected Areas and World Heritage Programme Profiles | url=http://www.unep-wcmc.org/index.html?http://sea.unep-wcmc.org/sites/wetlands/caroline.htm~main|archiveurl=https://web.archive.org/web/20080210063706/http://sea.unep-wcmc.org/sites/wetlands/caroline.htm|archivedate=2008-02-10}}</ref>
 
เกาะแคโรไลน์เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของ[[นกทะเล]]หลายชนิด สำคัญที่สุดคือ [[นกนางนวลแกลบดำ]] (''Onychoprion fuscata'') ซึ่งมีจำนวนประมาณ 500,000 ตัว โดยพบมากบนเกาะเล็กฝั่งตะวันออกและ และ[[นกโจรสลัดใหญ่]] (''Fregata minor'') ซึ่งมีจำนวนประมาณ 10,000 ตัว เกาะแคโรไลน์และ[[เกาะฟลินต์]]ที่อยู่ใกล้เคียงเป็นถิ่นอาศัยของ[[ปูมะพร้าว]] (''Birgus latro'') ใหญ่สุดแห่งหนึ่งในโลก<ref name="oceandots"/> นอกจากนี้ สัตว์เฉพาะถิ่นอื่นมี[[หอยมือเสือ]]ซึ่งพบมากบริเวณลากูนศูนย์กลาง [[เต่าตนุ]] [[ปูเสฉวน]] และ[[กิ้งก่า]]อีกหลายชนิด<ref name="Teataata2"/>
 
[[เต่าตนุ]] (''Chelonia mydas'') ซึ่งเป็น[[สายพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์|สัตว์ใกล้สูญพันธุ์]] ทำรังบนหาดเกาะแคโรไลน์ แต่มีรายงานผู้ตั้งถิ่นฐานล่าสุดบุกรุกเข้าไปล่าสัตว์<ref name="Teataata2"/> นกชนิด ''Numenius tahitiensis'' ซึ่งอพยพมาจาก[[รัฐอะแลสกา|อะแลสกา]]ก็จัดเป็นสายพันธุ์เสี่ยงอีกด้วย
บรรทัด 93:
เชื่อว่าเกาะแคโรไลน์กำเนิดจาก[[จุดร้อน]]ภูเขาไฟที่ถูกกัดกร่อนและกลายเป็นที่อยู่ของแนวปะการังและค่อย ๆ เติบโตขึ้นเหนือผิวมหาสมุทร แม้ยังเข้าใจกระบวนการทางธรณีวิทยานี้เพียงเล็กน้อย แต่การวางตัวของ[[หมู่เกาะไลน์]] (ประมาณจากเหนือไปใต้) แสดงให้เห็นว่ากลุ่มเกาะเหล่านี้น่าจะกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 40 ล้านปีมาแล้ว ก่อนที่[[แผ่นแปซิฟิก]]จะเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนตัว และจุดร้อนเดียวกันนี้ยังก่อให้เกิด[[ตูอาโมตัส|กลุ่มเกาะตูอาโมตู]]อีกด้วย<ref name="oceandots2">{{cite web | title=Pacific Ocean - Line Islands | work=Oceandots.com | url=http://www.oceandots.com/pacific/line/ | archiveurl=https://web.archive.org/web/20101223015139/http://www.oceandots.com/pacific/line/ | archivedate=2010-12-23 | accessdate=2006-06-11}}</ref>
 
มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชาว[[พอลินีเชีย]]บนเกาะเล็กใหญ่ ๆ ก่อนมีการติดต่อกับชาวยุโรป<ref name="ARB"/> คณะสำรวจเกาะนี้ยุคแรก ๆ ค้นพบสุสานและลานแผ่นแบบและมีมาเรราเอ (marae) ซึ่งเป็นลานชุมชนและลานศักดิ์สิทธิ์ บนฝั่งตะวันตกของเนกไอส์ลิตเนกไอลิต ตราบจนปัจจุบัน นักโบราณคดียังไม่ได้สำรวจสิ่งประดิษฐ์เหล่านี้
 
=== การพบและบันทึกแรก ๆ ===
[[ไฟล์:Caroline-Island-1883-Eclipse.jpg|thumb|คณะสำรวจชาวฝรั่งเศสและอเมริกันบรรจบกัน ณ เกาะแคโรไลน์ในเดือนพฤษภาคม 2426 เพื่อสังเกตสุริยุปราคาเต็มดวงที่กินเวลานานผิดปกติ สมาชิกคณะสำรวจผู้หนึ่งวาดภาพนี้]]
 
[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] อาจพบเกาะแคโรไลน์เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2064<ref>{{cite web|title=Morison Rates Magellan Above Columbus as a Seaman|newspaper=New York Times|url=https://www.nytimes.com/1972/04/24/archives/morison-rates-magellan-above-columbus-as-a-seaman.html?mcubz=1}}</ref><ref>{{cite book|author=Matthew James|title=The Great Explorers.|url=https://books.google.com/books?id=kOt3DAAAQBAJ&pg=PT102&lpg=PT102&dq=%22caroline+island%22+magellan+sharks&source=bl&ots=mtAxUgDJUe&sig=qX_4qjg5gjgwzYPtb8-RkoKchsE&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwivp93At7HVAhXslVQKHXIZCsAQ6AEIODAC#v=onepage&q=%22caroline%20island%22%20magellan%20sharks&f=false}}</ref>
 
บันทึกการเห็นเกาะแคโรไลน์ต่อมาของชาวยุโรปคือ บันทึกของ[[เปโดรเปดรู เฟร์นันเดซฟือร์นังดึช เดดือ กีโรสไกรอช]] นักสำรวจชาวโปรตุเกสที่ล่องเรือในนามของสเปน เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2149 บันทึกของเขาเรียกเกาะนี้ว่า "ซานเบอร์นาร์โดเบร์นาร์โด" (San Bernardo)<ref name="ARB"/> ต่อมาวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2338 กัปตัน[[วิลเลียม โรเบิร์ตรอเบิร์ต บรอจตันบรอตัน]] แห่ง[[เรือหลวงพรอวิเดนซ์|เรือหลวง ''พรอวิเดนซ์'']] ค้นพบเกาะนี้และตั้งชื่อเกาะว่าแคโรไลนา (ต่อมาเป็นแคโรไลน์) เพื่อยกย่องธิดาของเซอร์[[ฟิลิป สตีเฟนส์เวนส์ แบระเน็ทที่เน็ตที่ 1|เซอร์ฟิลิป สตีเฟนส์เวนส์]] แห่ง[[กระทรวงทหารเรือ]]<ref name="ARB"/> ต่อมาเรือล่าปลาวาฬสัญชาติอังกฤษ ''ซะไพลพลาย'' พบเกาะนี้อีกครั้งใน พ.ศ. 2364 และตั้งชื่อว่า "เกาะธอนทันธอนตัน" ตามชื่อกัปตันเรือ เกาะแห่งนี้ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกเช่น เกาะเฮิสต์ (Hirst Island) เกาะคลาร์ก (Clark Island) และเกาะอินดีเพนเดนซ์ดิเพนเดนซ์ (Independence Island) การเดินทางถึงครั้งแรก ๆ ซึ่งมีบันทึกเกี่ยวกับเกาะ คือ การเดินทางของ[[ยูเอสเอส ดอลฟิน (1821)|ยูเอสเอส ''ดอลฟิน'']]ใน พ.ศ. 2368 (ร้อยโท [[ไฮรามรัม พอลดิง]] เป็นผู้บันทึก) และเรือล่าวาฬใน พ.ศ. 2378 (เฟรเดอริก ดีเบลล์ เบนเนตต์ บันทึกในหนังสือ ''คำบรรยายของการล่องเรือล่าปลาวาฬรอบโลกระหว่างปี 1833–1836'' (''Narrative of a Whaling Voyage Round the Globe From the Year 1833–1836'')
 
<!-- การตั้งอาณานิคมช่วงแรก -->
พ.ศ. 2389 คอลลีและลูเซ็ตต์ บริษัทสัญชาติตาฮีตีคอลลีและลูเซ็ตต์ฮีตี พยายามสร้างชุมชนเลี้ยงปศุสัตว์และปลูกมะพร้าวขนาดเล็กบนเกาะ ซึ่งประสบความสำเร็จทางการเงินจำกัด ส่วนใน พ.ศ. 2411 [[เรือหลวงเรนเดีย (1866)|เรือหลวง ''เรนเดีย'']] ของบริเตนอ้างสิทธิเหนือแคโรไลน์ ซึ่งบันทึกผู้อยู่อาศัย 27 คนในนิคมแห่งหนึ่งบนเซาท์ไอส์ลิต เมื่อ พ.ศ. 2415 รัฐบาลบริติชให้เช่าเกาะนี้แก่บริษัทโฮลเดอร์บราเธอส์ จำกัด โดยมี[[จอห์น ที. อาแอรันเดล]] เป็นผู้จัดการ (เป็นชื่อชื่อเกาะเล็กเกาะหนึ่งด้วย)<ref name="Resture"/> จอห์น ที. อาแอรันเดลและคณะรับสัญญาเช่าใน พ.ศ. 2424 จนใน พ.ศ. 2428 อาแอรันเดลตั้งไร่ใหญ่มะพร้าว แต่ต้นมะพร้าวติดโรคและไร่ใหญ่ล้มเหลวไป<ref name="ARB"/> อีกทั้งบริษัทโฮลเดอร์บราเธอส์ จำกัด ที่มีอาแอรันเดลเป็นผู้จัดการนั้น ยังทำฟาร์ม[[ปุ๋ยขี้นก]]ใน พ.ศ. 2417 ด้วย โดยพบ[[ฟอสเฟต]]กว่า 10,000 ตัน จนหมดไปจากเกาะในราว พ.ศ. 2438<ref name="ARB"/> นิคมบนเกาะอยู่จนกระทั่ง พ.ศ. 2447 ชาวพอลินีเชีย 6 คนสุดท้ายย้ายออกจากเกาะนี้ไป[[นีวเว]]<ref name="ARB"/>
 
<!-- การมาชมสุริยุปราคา -->
คณะสำรวจนักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันเดินทางจาก[[เปรู]]มาเกาะแคโรไลน์ด้วยเรือ[[ยูเอสเอสฮาร์ตฟอร์ดฮาร์ตเฟิร์ด (1858)|ยูเอสเอส ''ฮาร์ตฟอร์ดฮาร์ตเฟิร์ด'']] เพื่อมาชม[[สุริยุปราคาเต็มดวง]]วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2426 คณะสำรวจชาวฝรั่งเศสก็สังเกตสุริยุปราคาจากเกาะแคโรไลน์เช่นกัน และกองทัพเรือสหรัฐทำแผนที่เกาะ<ref name="Resture"/> [[โยฮันน์ พาลิพาลีซา]] สมาชิกคณะสำรวจคนหนึ่ง ค้นพบดาวเคราะห์น้อยในปีเดียวกันซึ่งเขาตั้งชื่อว่า [[235 แคโรไลนา|แคโรไลนา]] เพื่อรำลึกถึงการเยือนเกาะแคโรไลน์<ref name="planet">{{cite book | first=L.D. | last=Schmadel | year=2000 | title=Dictionary of Minor Planet Names | edition=4th | publisher=Springer-Verlag Telos |location=Berlin | isbn=3-540-66292-8 }}</ref>
 
=== คริสต์ศตวรรษที่ 20 ===
<!-- Second copra settlement -->
เอส.อาร์. แมกซ์เวลล์แอนด์คอมปานีเช่าเกาะนี้และตั้งถิ่นฐานใหม่ใน พ.ศ. 2459 ครั้งนี้สร้างขึ้นเพื่อส่งออกเนื้อมะพร้างมะพร้าวแห้งโดยเฉพาะ มีการถางป่าอย่างกว้างขวางในเซาท์ไอส์ไอลิตเพื่อปลูกต้นมะพร้าวซึ่งไม่ใช่พืชท้องถิ่น<ref name="ARB"/> ทว่า การลงทุนธุรกิจนี้ประสบหนี้สิน และนิคมของอเกาะเริ่มมีประชากรลดลง เมื่อ พ.ศ. 2469 เหลือผู้อยู่อาศัยเพียง 10 คน และใน พ.ศ. 2479 นิคมเหลือครอบครัวชาวตาฮิตีเพียง 2 ครอบครัวก่อนย้ายออกไปในปลายคริสต์ทศวรรษ 1930<ref name="Resture"/>
 
<!-- Transfers of jurisdiction -->
บรรทัด 116:
 
<!-- สถานะภายใต้การปกครองของคิริบาส -->
พ.ศ. 2522 หมู่เกาะกิลเบิร์ตกลายเป็นรัฐเอกราช[[คิริบาส]] หมู่เกาะแคโรไลน์เป็นจุดตะวันออกสุดของคิริบาส ทั้งเกาะมีรัฐบาลสาธารณรัฐคิริบาสเป็นเจ้าของ มีกระทรวงกลุ่มไลน์และฟีนิกซ์ซึ่งมีสำนักงานใหญ่บน[[คิริสมาส]]เป็นผู้ดูแล สหรัฐสละการอ้างสิทธิอธิปไตยเหนือเกาะของสหรัฐ (ภายใต้รัฐบัญญัติหมู่เกาะปุ๋ยขี้นก) ในสนธิสัญาสนธิสัญญาตาราวาใน พ.ศ. 2522 และ[[วุฒิสภาสหรัฐ]]ให้สัตยาบันใน พ.ศ. 2526<ref name="Trussel">{{cite web | author= | year=1979| title=Treaty of Friendship Between the United States of America and the Republic of Kiribati | work= | url=http://www.trussel.com/kir/treaty.htm}}</ref>
 
<!-- ฟัลคอเนอร์ฟอลคอเนอร์ -->
เกาะนี้มีคนอาศัยอีกช่วงสั้น ๆ ระหว่าง พ.ศ. 2530 ถึง พ.ศ. 2534 โดย รอน ฟัลคอเนอร์ฟอลคอเนอร์ และแอน ภรรยา พร้อมลูก 2 คนซึ่งพัฒนานิคมพึ่งพาตนเองเป็นส่วนใหญ่บนเกาะ หลังการโอนความเป็นเจ้าของ ฟัลคอเนอร์ฟอลคอเนอร์ถูกรัฐบาลคิริบาสฟ้องขับไล่ออกจากเกาะ หนังสือ ''ทูเกเธอร์อะโลน'' (ISBN 1-86325-428-5) ซึ่งฟัลคอเนอร์เขียนฟอลคอเนอร์เขียน บันทึกนิยายการำนักการพำนักของพวกเขาบนเกาะแคโรไลน์<ref name="Falconer">{{cite book | first=Ron | last=Falconer | title=Together Alone | publisher=Bantam Books | location=Australia | year=2004 | isbn=1-86325-428-5}}</ref>
 
<!-- สถานะปัจจุบัน -->
มีการให้เช่าเกาะแก่อูนิรีมา เฟลิกซ์ ผู้ประกอบการชาว[[เฟรนช์พอลินีเชีย]] ในคริสต์ทศวรรษ 1990 เขาสร้างที่อยู่อาศัยเล็ก ๆ บนเกาะเล็กเกาะหนึ่งและมีรายงานว่าวางแผนพัฒนาเกาะ เกาะยังมีผู้เก็บเกี่ยวมะพร้าวแห้งชาวพอลินีเซียเวียนมาเป็นบางครั้งภายใต้ความตกลงกับรัฐบาลคิริบาสในตาราวา<ref name="Teataata"/>
 
=== การเปลี่ยนเส้นแบ่งเขตวัน ===
บรรทัด 131:
 
<!-- ข้อพิพาทเรื่องการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง -->
เหตุผลการย้ายที่แถลงไว้เป็นคำสัญญาระหว่างการรณรงค์ของอดีตประธานาธิบดีคิริบาส[[เทบุโรโรเตบูโรโร ติซีโต]] (Teburoro Tito) อดีตประธานาธิบดีคิริบาส เพื่อขจัดความสับสนที่ประเทศคิริบาสทอดข้ามเส้นแบ่งเขตวัน ฉะนั้นจึงมีวันต่างกันสองวันเสมอ ทว่า ข้าราชการคิริบาสไม่ฝืนใจที่พยายามฉวยสถานภาพใหม่ของประเทศที่เป็นดินแดนแรกที่เห็นรุ่งอรุณใน พ.ศ. 2543<ref name="Kristof">{{cite news | first = Nicholas D. | last = Kristof |url = http://www.trussel.com/kir/kirnews1.htm |title = Tiny Island's Date-Line Jog in Race for Millennium|publisher = ''New York Times'' |date = March 23, 1997 |accessdate = 2006-06-10}}</ref> ประเทศแปซิฟิกอื่น รวมั้ง[[ประเทศตองงา]]และ[[หมู่เกาะแชทัม]]ของ[[นิวซีแลนด์]] ประท้วงการย้ายนี้ โดยคัดค้านว่าละเมิดการอ้างเป็นดินแดนแห่งแรกที่เห็นรุ่งเช้าใน พ.ศ. 2543<ref name="Letts">{{cite news | first = Quentin |last = Letts |url = http://www.trussel.com/kir/kirnews2.htm |title = Pacific braces for millennium storm over matter of degrees | publisher = ''The Times'' |date = January 25, 1996 | accessdate = 2006-06-10}}</ref>
 
<!-- การเปลี่ยนชื่อและการเฉลิมฉลอง -->
ใน พ.ศ. 2542 เพื่อใช้ประโยชน์จากความสนใจของสาธารณะขนานใหญ่ต่อการเฉลิมฉลองการย่างเข้า พ.ศ. 2543 ยิ่งขึ้น จึงมีการเปลี่ยนชื่อเกาะแคโรไลน์เป็นเกาะมิลเลเนียมลเลนเนียม แม้เป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัย แต่มีการจัดการเฉลิมฉลองพิเศษบนเกาะ มีการแสดงของวงการบันเทิงพื้นเมืองชาวคิริบาสและประธานาธิบดีติโตเข้าร่วมด้วย<ref name="AP">{{cite news | agency=Associated Press | title=2000 greeted with song, dance | date=January 1, 2000 | publisher= ''Japan Times'' | url=http://www.trussel.com/kir/millen.htm }}</ref> มีนักร้องและนักเต้นชาวคิริบาสเดินทางจากเมืองหลวงกรุง[[ตาราวา]] กว่า 70 คน<ref name="warmly">{{cite news | agency = Associated Press |url = http://www.climateark.org/articles/1999/milislgr.htm |title = Millennium Island greets Y2K warmly | publisher = ClimateArk.org |date = December 30, 1999 |accessdate = 2006-06-11|archiveurl=https://web.archive.org/web/20050213142246/http://climateark.org/articles/1999/milislgr.htm|archivedate=February 13, 2005}}</ref> และมีนักข่าวประมาณ 25 คน มีการแพร่สัญญาณการเฉลิมฉลองครั้งนี้ผ่านดาวเทียมทั่วโลกและมีผู้ชมประมาณหนึ่งพันล้านคน<ref name="AP"/>
 
<!-- สถานะจริงของรุ่งอรุณแรก -->
บรรทัด 146:
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-South.jpg|ชายฝั่ง[[ลากูน]]ทางใต้ของเกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Mannikiba.jpg|[[ลากูน]]ของเกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-AnaAna.jpg|รอนและแอนฟัล คอเนอร์ฟอลคอเนอร์ ซึ่งอาศัยอยู่บน[[อะทอลล์]]แห่งนี้ในช่วงปี 1988-92พ.ศ. 2531–2535
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Arundel.jpg|น้ำทะเลสะอาดใส่ของเกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Brothers.jpg|[[เกาะเล็กบราเทอส์เทอส์ไอลิต]] เกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Fishball.jpg|พระอาทิตย์ตกดินเหนือเกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Nake.JPG|ต้นไพโซเนียโบราณ เกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-NorthArundel.jpg|ต้นคอร์เดียบน[[เกาะเล็กนอร์ทอรันเดล]] เกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Pig.jpg|ต้น Psionia เกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Shark.jpg|[[เกาะเล็กชาร์คชาร์กไอลิต]] เกาะแคโรไลน์
ไฟล์:CarolinePic-Kepler-Windward.jpg|ไม้จำพวกต้นรักทะเลบน[[เกาะเล็กวิลวาร์ดวินด์เวิร์ดไอลิต]] เกาะแคโรไลน์
</gallery>
{{Clear}}