ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thomson Walt/กระบะทราย 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 4:
ด้วยความก้าวหน้าทาง[[เภสัชเคมี]] ทำให้ยาปฏิชีวนะที่มีใช้อยู่ทุกวันนี้สามารถผลิตได้จากวิธีการกึ่งสังเคราะห์ โดยการดัดแปลงสูตรโครงสร้างของสารประกอบจากธรรมชาติที่มีฤทธิ์ต้าน[[แบคทีเรีย]]ให้มีความเหมาะสมในการใช้กับมนุษย์มากขึ้น<ref name="Nussbaum2006">{{cite journal|last1=von Nussbaum|first1=Franz|last2=Brands|first2=Michael|last3=Hinzen|first3=Berthold|last4=Weigand|first4=Stefan|last5=Häbich|first5=Dieter|title=Antibacterial Natural Products in Medicinal Chemistry—Exodus or Revival?|journal=Angewandte Chemie International Edition|date=4 August 2006|volume=45|issue=31|pages=5072–5129|doi=10.1002/anie.200600350|url=http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.200600350/abstract;jsessionid=1D843B672707790C436223082CDC24FC.f04t02|accessdate=3 August 2016|language=en|issn=1521-3773|pmid=16881035}}</ref> ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ ยาปฏิชีวนะจำพวก[[บีตา-แลคแตม]] ซึ่งกลุ่ม[[เพนิซิลลิน]] (ผลิตจาก[[รา]]ใน[[Penicillium|สกุลเพนิซิลเลียม]]), กลุ่ม[[เซฟาโลสปอริน]], และกลุ่ม[[คาร์บาพีแนม]] ก็ล้วนแต่ถูกจัดอยู่ในยาปฏิชีวนะจำพวกนี้ ส่วนยาปฏิชีวนะที่ใช้ในปัจจุบันที่ต้องสกัดจาก[[จุลชีพ]]ที่มีชีวิตเท่านั้น คือ ยาปฏิชีวนะในกลุ่ม[[อะมิโนไกลโคไซด์]] ส่วนกลุ่มอื่นๆนั้นล้วนได้มาจากการสังเคราะห์ใน[[ห้องปฏิบัติการ]] เช่น [[ซัลโฟนาไมด์]], [[ควิโนโลน]], [[ออกซาโซลิไดโอน]] เป็นต้น<ref name="Nussbaum2006"/> ยาปฏิชีวนะโดยส่วนใหญ่มักมีขนาด[[โมเลกุล]]ที่ค่อนข้างเล็กและมี[[มวลโมเลกุล]]น้อยกว่า 1000 [[ดาลตัน]]<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=av5SHPiHVcsC&lpg=PA800&ots=Poh9XTWpBC&dq=oral%20drug%20molecular%20weight%20distribution%20antibiotics&pg=PA800#v=onepage&q&f=false |title=Antibiotic Discovery and Development |author1=Dougherty TJ |author2=Pucci MJ |publisher=Springer |date=18 December 2011 |page=800}}</ref>
 
การที่[[เอินซต์ เชน]]และ[[ฮาเวิร์ด ฟลอเรย์]]สามารถสกัด[[เพนิซิลลิน]]บริสุทธิ์เพื่อใช้ในมนุษย์ได้สำเร็จใน ค.ศ. 1941<ref name="ucsusa.org">{{cite book | url=http://www.ucsusa.org/assets/documents/food_and_agriculture/cafos-uncovered.pdf | author=Doug Gurian-Sherman |month=April|year=2008 |title=CAFOs Uncovered: The Untold Costs of Confined Animal Feeding Operations |editor= Union of Concerned Scientists |publisher= Cambridge, MA|language=English}}</ref> ทำให้ยาดังกล่าวถูกผลิตขึ้นเพื่อใช้รักษาผู้บาดเจ็บ[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เป็นจำนวนมาก จนทำให้การผลิตที่[[ประเทศอังกฤษ]]นั้นไม่สามารถสนับสนุนความต้องการในการใช้ยานี้ได้อย่างเพียงพอ จึงได้มีการย้ายฐานการผลิตไปยัง[[สหรัฐอเมริกา]] ซึ่งมีกำลังการผลิตที่มากกว่า จนกระทั่ง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] สิ้นสุดลง จึงได้มีการผลิต[[เพนิซิลลิน]]ออกสู่ตลาดยาสาธารณะ
นับตั้งแต่[[เอินซต์ เชน]]และ[[ฮาเวิร์ด ฟลอเรย์]]สามารถสกัด[[เพนิซิลลิน]]บริสุทธิ์ได้ใน ค.ศ. 1942 ความสำคัญทางการแพทย์ของ[[ยาต้านจุลชีพ]] ซึ่งรวมไปถึงยาปฏิชีวนะนั้น ได้นำมาซึ่งการค้นคว้าวิจัยเพื่อคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่อย่างกว้างขวางและเข้มข้น จากนั้นก็ตามมาด้วยการพยายามคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่ที่สามารถออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อก่อโรคได้เป็นวงกว้าง, การผลิตยาปฏิชีวนะโดยใช้กระบวนการหมักเชื้อในเชิงอุตสาหกรรม ซึ่งใช้แบคทีเรียกลุ่ม[[สิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการออกซิเจน|ที่ไม่ใช้ออกซิเจน]]เป็นหลัก
 
ถึงแม้ว่ายาปฏิชีวนะที่มีอยู่ในตลาดยาทุกวันนี้ส่วนใหญ่จะได้มาจากการสังเคราะห์ของจุลชีพ (เช่น [[เพนิซิลลิน]])
 
 
นับตั้งแต่[[เอินซต์ เชน]]และ[[ฮาเวิร์ด ฟลอเรย์]]สามารถสกัด[[เพนิซิลลิน]]บริสุทธิ์ได้ใน ค.ศ. 1942 ความสำคัญทางการแพทย์ของ[[ยาต้านจุลชีพ]] ซึ่งรวมไปถึงยาปฏิชีวนะนั้น ได้นำมาซึ่งการค้นคว้าวิจัยเพื่อคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่อย่างกว้างขวางและเข้มข้น จากนั้นก็ตามมาด้วยการพยายามคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะชนิดใหม่ที่สามารถออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อก่อโรคได้เป็นวงกว้าง, การผลิตยาปฏิชีวนะโดยใช้กระบวนการหมักเชื้อในเชิงอุตสาหกรรม ซึ่งใช้แบคทีเรียกลุ่ม[[สิ่งมีชีวิตที่ไม่ต้องการออกซิเจน|ที่ไม่ใช้ออกซิเจน]]เป็นหลัก
 
==สเปน==