ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thomson Walt/กระบะทราย 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
[[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย_Plan|แผน]] • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/ทดลองเขียน|ทดลองเขียน]] • '''กระบะทราย''' • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย|1]] • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย_2|2]] • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย_3|3]] • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย_4|4]] • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย_5|5]] • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย_6|6]] • [[ผู้ใช้:Thomson_Walt/กระบะทราย_7|7]]
=[[ยาปฏิชีวนะ]]=
==={{Main Syntheticarticle|Production of antibiotics derived from dyes ===}}
With advances in [[medicinal chemistry]], most modern antibacterials are [[semisynthetic]] modifications of various natural compounds.<ref name="Nussbaum2006">{{cite journal|last1=von Nussbaum|first1=Franz|last2=Brands|first2=Michael|last3=Hinzen|first3=Berthold|last4=Weigand|first4=Stefan|last5=Häbich|first5=Dieter|title=Antibacterial Natural Products in Medicinal Chemistry—Exodus or Revival?|journal=Angewandte Chemie International Edition|date=4 August 2006|volume=45|issue=31|pages=5072–5129|doi=10.1002/anie.200600350|url=http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.200600350/abstract;jsessionid=1D843B672707790C436223082CDC24FC.f04t02|accessdate=3 August 2016|language=en|issn=1521-3773|pmid=16881035}}</ref> These include, for example, the [[beta-lactam antibiotics]], which include the [[penicillin]]s (produced by fungi in the genus ''[[Penicillium]]''), the [[cephalosporin]]s, and the [[carbapenem]]s. Compounds that are still isolated from living organisms are the [[aminoglycoside]]s, whereas other antibacterials—for example, the [[Sulfonamide (medicine)|sulfonamides]], the [[Quinolone antibiotic|quinolones]], and the [[oxazolidinone]]s—are produced solely by [[chemical synthesis]].<ref name="Nussbaum2006"/> Many antibacterial compounds are relatively [[small molecule]]s with a [[molecular weight]] of less than 1000 [[dalton (unit)|dalton]]s.<ref>{{cite book|url=https://books.google.com/books?id=av5SHPiHVcsC&lpg=PA800&ots=Poh9XTWpBC&dq=oral%20drug%20molecular%20weight%20distribution%20antibiotics&pg=PA800#v=onepage&q&f=false |title=Antibiotic Discovery and Development |author1=Dougherty TJ |author2=Pucci MJ |publisher=Springer |date=18 December 2011 |page=800}}</ref>
ยาปฏิชีวนะสังเคราะห์เป็นวิทยาศาตร์ที่พัฒนาขึ้นแรกเริ่มในเยอรมนีในปีทศวรรษที่ 1880 โดย[[เพาล์ เอร์ลิช]] – แพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน<ref name="CALDERIN2007"/> [[เพาล์ เอร์ลิช|เอร์ลิช]]พบว่าสีย้อมบางชนิดสามารถทำให้เซลล์สัตว์, มนุษย์ หรือแบคทีเรียติดสีได้ ขณะที่เซลล์สิงมีชีวิตอื่นไม่ติดสีดังกล่าว จากนั้นเขาจึงมีความคิดว่ามีความเป็นไปได้ที่จะใช้สารเคมีบางอย่างที่จำเพาะต่อเซลล์หนึ่งๆมาเป็นยาที่ใช้ฆ่าแบคทีเรียก่อโรคได้โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายแก่มนุษย์ หลังจากนั้นเขาได้ทำการศึกษาสีย้อมที่มีฤทธิ์ต้านจุลชีพหลายร้อยชนิด จนในที่สุด เขาก็ได้พบสารที่มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียที่มีชื่อว่า [[ซาลวาซาน]] ในปี ค.ศ. 1907<ref name="CALDERIN2007"/><ref name="Limbird2004"/><ref name="Bosch2008"/> ซึ่งปัจจุบันรู้จักกันในชื่อ [[อาร์สเฟนามิน]]<ref name=acs>{{cite web |url=http://pubs.acs.org/cen/coverstory/83/8325/8325salvarsan.html |title=Salvarsan |accessdate=2010-02-01 |quote= |publisher=Chemical & Engineering News }}</ref><ref name="jmvh.org"/>
[[File:Paul Ehrlich and Sahachiro Hata.jpg|thumb|left|[[เพาล์ เอร์ลิช]] และ[[ซาฮาชิโร ฮาตะ]]]]
ยุคของการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะนั้นเริ่มต้นขึ้นเมื่อมีการค้นพบยาปฏิชีวนะสังเคราะห์ที่เป็นอนุพันธ์ของ[[สารหนู]]โดย[[อัลเฟรด เบอร์ธม]] (Alfred Bertheim) และ[[เพาล์ เอร์ลิช|เอร์ลิช]] เมื่อปี ค.ศ. 1907<ref>{{cite journal | authors = Williams KJ | title = The introduction of 'chemotherapy' using arsphenamine – the first magic bullet | journal = J R Soc Med | volume = 102 | issue = 8 | pages = 343–8 | year = 2009 | pmid = 19679737 | pmc = 2726818 | doi = 10.1258/jrsm.2009.09k036 }}</ref><ref name="goodman">{{cite book |last1=Goodman |first1=Louis S. |author-link1=Louis S. Goodman |last2=Gilman |first2=Alfred |author-link2=Alfred Gilman, Sr. |title=The Pharmacological Basis of Therapeutics |publisher=Macmillan |location=New York |year=1941}}</ref> [[เพาล์ เอร์ลิช|เอร์ลิช]]และ[[อัลเฟรด เบอร์ธม|เบอร์ธม]]ได้ศึกษาทดลองรักษา[[แอฟริกัน ทริปาโนโซมิเอซิส|โรคทริปาโนโซมิเอซิส]]ใน[[หนู|หนูไมซ์]] และการติด[[แบคทีเรีย|เชื้อแบคทีเรีย]][[Spirochaeta|สกุลสไปโรคีท]]ใน[[กระต่าย]]ด้วยสารเคมีจากสีย้อมหลายชนิด การทดลองในช่วงแรกนั้นประสบความล้มเหลวเนื่องจากสีย้อมเหล่านั้นก่อให้เกิดพิษต่อสัตว์ทดลองมากเกินไป ต่อมา[[เพาล์ เอร์ลิช]]ได้ทำการศึกษาเพื่อค้นหายาปฏิชีวนะในการรักษา[[ซิฟิลิส]]ตามคำร้องขอของกองทัพในขณะนั้น โดยทำการศึกษาร่วมกับ[[ซาฮาชิโร ฮาตะ]]–นักจุลชีววิทยาชาวญี่ปุ่น จนค้นพบสารที่มีคุณสมบัติตามต้องการจากบรรดาสารเคมีที่ทำการศึกษาทั้งหมด 606 ชนิด ใน ค.ศ. 1910 [[เพาล์ เอร์ลิช|เอร์ลิช]] และ[[ซาฮาชิโร ฮาตะ|ฮาตะ]]ได้เผยแพร่การค้นพบที่สำคัญครั้งนี้สู่สาธารณะ ณ งานการประชุม[[อายุรศาสตร์]]ที่[[วีสบาเดิน|เมืองวีสบาเดิน]] โดยทั้งสองได้ตั้งชื่อยาดังกล่าวว่า '''606'''<ref name="jmvh.org">{{cite journal|last1=Frith|first1=John|title=Arsenic – the "Poison of Kings" and the "Saviour of Syphilis"|journal=Journal of Military and Veterans' Health|volume=21|issue=4|url=http://jmvh.org/article/arsenic-the-poison-of-kings-and-the-saviour-of-syphilis/|accessdate=31 January 2017|publisher=Australasian Military Medicine Association}}</ref> จากนั้นบริษัทฮุชต์ (Hoechst) ได้เริ่มทำการผลิตยาดังกล่าวออกสู่ตลาดยาในช่วงปลายทศวรรษที่ 1910 ภายใต้ชื่อการค้า '''Salvarsan''' ในปัจจุบันยานี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ [[อาร์สเฟนามิน]]<ref name="jmvh.org"/> โดยถูกนำมาใช้เป็นยารักษา[[ซิฟิลิส]]ในช่วงต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] จากการค้นพบ[[อาร์สเฟนามิน]]นี้ ทำให้[[เพาล์ เอร์ลิช|เอร์ลิช]]ได้รับ[[รางวัลโนเบล]][[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์|สาขาสรีรวิทยาและการแพทย์]]ในปี ค.ศ. 1908 จากการศึกษาค้นคว้าด้าน[[ระบบภูมิคุ้มกัน]]<ref name=nobel>[https://www.nobelprize.org/nobel_prizes/medicine/laureates/1908/ehrlich-bio.html The Nobel Prize in Physiology or Medicine 1908, Paul Erlich – Biography]</ref> ส่วน[[ซาฮาชิโร ฮาตะ]]ได้รับการเสนอชื่อให้เข้ารับ[[รางวัลโนเบล]][[รางวัลโนเบลสาขาเคมี|สาขาเคมี]]ในปี ค.ศ. 1911 และ[[รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์|สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]]ในปี ค.ศ. 1912 และ 1913<ref>[https://www.nobelprize.org/nomination/archive/show_people.php?id=3941 Sachachiro Hata – Nomination Database]</ref>
 
Since the first pioneering efforts of [[Howard Florey]] and [[Ernst Boris Chain|Chain]] in 1939, the importance of antibiotics, including antibacterials, to [[medicine]] has led to intense research into producing antibacterials at large scales. Following screening of antibacterials against a wide range of bacteria, production of the active compounds is carried out using [[Industrial fermentation|fermentation]], usually in strongly aerobic conditions.{{citation needed|date=January 2017}}
[[ซัลโฟนาไมด์|ยาซัลโฟนาไมด์]]ชนิดแรกของกลุ่มยานี้อย่าง [[พรอนโตซิล]] ถือเป็นยาปฏิชีวนะสังเคราะห์ชนิดแรกที่อยู่ในรูปแบบที่พร้อมออกฤทธิ์ได้ โดยยาดังกล่าวถูกพัฒนาขึ้นในช่วงปี ค.ศ. 1932–1933 โดยทีมนักวิจัยที่นำทีมโดย [[แกร์ฮาร์ด โดมักค์]] ณ [[ห้องปฏิบัติการ]]ของ[[บริษัท]][[ไบเออร์]] ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของกลุ่มบริษัท[[ไอ.จี.ฟาร์เบิน]]ใน[[ประเทศเยอรมนี]]<ref name="goodman"/><ref name="ReferenceA">{{cite journal | authors = Aminov RI | title = A brief history of the antibiotic era: lessons learned and challenges for the future | journal = [[Frontiers in Microbiology]] | volume = 1 | pages = 134 | year = 2010 | pmid = 21687759 | pmc = 3109405 | doi = 10.3389/fmicb.2010.00134 }}</ref><ref name="Bosch2008"/> การค้นพบนี้ทำให้[[แกร์ฮาร์ด โดมักค์|โดมักค์]]ได้รับ[[รางวัลโนเบล]][[สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์]]ในปี ค.ศ. 1939<ref>{{cite web |url=https://www.nobelprize.org/nobel_prizes/medicine/laureates/1939/press.html |title=Physiology or Medicine 1939 – Presentation Speech |publisher=Nobel Foundation |accessdate=14 January 2015}}</ref> ส่วน[[ซัลฟานิลาไมด์]]ซึ่งเป็นรูปแบบที่ออกฤทธิ์ของ[[พรอนโตซิล]]นั้นไม่ได้รับอนุญาตให้จดสิทธิบัตร เนื่องจากสารดังกล่าวนั้นถูกใช้ในอุตสาหกรรมสีย้อมก่อนหน้ามาเป็นเวลาหลายปีแล้ว<ref name="ReferenceA"/> [[พรอนโตซิล]]เป็นยาปฏิชีวนะที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์ค่อนข้างกว้าง โดยมีฤทธิ์ต้าน[[แบคทีเรียแกรมบวก]]ทรงกลม (cocci) ได้ดี แต่ไม่มีฤทธิ์ต่อ[[Enterobacteriaceae|วงศ์เอนเทอร์โรแบคทีเรียซีอี]] การค้นพบ[[พรอนโตซิล]]นี้ เป็นการเปิดศักราชใหม่ของการแพทย์ที่ส่งผลเกิดการตื่นตัวในการคิดค้นพัฒนายาปฏิชีวนะอื่นตามมาเป็นอย่างมาก<ref>{{Cite journal|last=Wright|first=Peter M.|last2=Seiple|first2=Ian B.|last3=Myers|first3=Andrew G.|date=18 August 2014|title=The evolving role of chemical synthesis in antibacterial drug discovery|journal=Angewandte Chemie (International Ed. in English)|volume=53|issue=34|pages=8840–8869|doi=10.1002/anie.201310843|issn=1521-3773|pmc=4536949|pmid=24990531}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Aminov|first=Rustam I.|date=1 January 2010|title=A brief history of the antibiotic era: lessons learned and challenges for the future|journal=Frontiers in Microbiology|volume=1|pages=134|doi=10.3389/fmicb.2010.00134|issn=1664-302X|pmc=3109405|pmid=21687759}}</ref>