ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
ครั้งหนึ่ง โรคลักปิดลักเปิดเคยพบมากในหมู่กะลาสี โจรสลัดและผู้ที่ล่องเรือในทะเลนานกว่าที่จะเก็บผักและผลไม้ได้ ซึ่งส่วนใหญ่คนเหล่านี้จะดำรงชีพด้วยเนื้อและธัญพืชที่ถนอมอาหารหรือเติมเกลือแทน และยังพบในหมู่ทหารที่ไม่ได้รับอาหารประเภทนี้เป็นเวลานาน [[ฮิปพอคราทีส]] (460-380 ปีก่อน ค.ศ.) เป็นผู้อธิบายโรคนี้ และการรักษาโรคด้วยสมุนไพรเป็นที่รู้จักกันในหลายวัฒนธรรมพื้นเมืองตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โรคลักปิดลักเปิดเป็นหนึ่งในปัจจัยจำกัดการท่องทะเล มักคร่าชีวิตผู้โดยสารและลูกเรือเป็นจำนวนมากในการเดินทางไกล ๆ และยาวนาน
การรักษาโรคลักปิดลักเปิดด้วยการให้อาหารสด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลไม้[[สกุลส้ม|จำพวกส้ม]] เป็นคราว ๆ ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยโบราณ
โรคลักปิดลักเปิดไม่เกิดในสัตว์ส่วนใหญ่ เพราะสัตว์สามารถสังเคราะห์วิตามินซีได้เอง อย่างไรก็ดี มนุษย์และ[[ไพรเมต]]ชั้นสูงอื่น ๆ หมูกินี ค้างคาวเกือบทุกชนิด และนกและปลาบางชนิดขาดเอนไซม์แอลกูโลโนแลกโตนอ็อกซิเดส (L-gulonolactone oxidase) ซึ่งจำเป็นต่อการสังเคราะห์วิตามินซีและต้องได้รับจากอาหาร วิตามินซีพบมากในเยื่อพืช และมีความเข้มข้นสูงโดยเฉพาะในผลไม้พวกส้ม (ส้ม [[เลมอน]] [[มะนาว]] [[เกรปฟรุต]]) มะเขือเทศ มันฝรั่ง กะหล่ำปลี และพริกไทยเขียว▼
▲โรคลักปิดลักเปิดไม่เกิดในสัตว์ส่วนใหญ่ เพราะสัตว์สามารถสังเคราะห์วิตามินซีได้เอง อย่างไรก็ดี มนุษย์และ[[ไพรเมต]]ชั้นสูง
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
|