ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกาะแคโรไลน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 134:
 
<!-- การเปลี่ยนชื่อและการเฉลิมฉลอง -->
ใน พ.ศ. 2542 เพื่อที่จะได้รับการมาเยือนและใช้ประโยชน์จากความสนใจจากนานาประเทศจึงมีการวางแผนจัด[[ของสาธารณะขนานใหญ่ต่อการเฉลิมฉลองสหัสวรรษ]]ขึ้นในการย่างเข้า พ.ศ. 2543 ทำให้รัฐบาลได้ยิ่งขึ้น จึงมีการเปลี่ยนชื่อเกาะแคโรไลน์เป็นเกาะมิลเลเนียมและลเลเนียม แม้เป็นเกาะที่ไม่มีคนอาศัย แต่มีการจัดการเฉลิมฉลองพิเศษบนเกาะ มีการจัดแสดงของนักร้องวงการบันเทิงพื้นเมืองชาวคิริบาสและมีประธานาธิบดีเทบุโรโร ติโตเข้าร่วมด้วย<ref name="AP">{{cite news | agency=Associated Press | title=2000 greeted with song, dance | date=January 1, 2000 | publisher= ''Japan Times'' | url=http://www.trussel.com/kir/millen.htm }}</ref> โดยมีนักร้องและนักเต้นของชาวคิริบาสที่มาเดินทางจากเมืองหลวงกรุง[[ตาราวา]] กว่า 70 คน<ref name="warmly">{{cite news | agency = Associated Press |url = http://www.climateark.org/articles/1999/milislgr.htm |title = Millennium Island greets Y2K warmly | publisher = ClimateArk.org |date = December 30, 1999 |accessdate = 2006-06-11|archiveurl=https://web.archive.org/web/20050213142246/http://climateark.org/articles/1999/milislgr.htm|archivedate=February 13, 2005}}</ref> และมีนักข่าวประมาณ 25 คน มีการแพร่สัญญาณการเฉลิมฉลองครั้งนี้ออกอากาศผ่านดาวเทียมไปทั่วโลกและมีผู้ชมประมาณหนึ่งพันล้านคน<ref name="AP"/>
 
<!-- สถานะจริงของรุ่งอรุณแรก -->
แม้จะมีสื่อและรัฐบาลมากมายออกมาประกาศว่าอ้าง แต่เกาะแคโรไลน์ไม่มิใช่แผ่นดินจุดแรกที่เห็นรุ่งอรุณแรกของวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2543 เพราะว่ามีดินแดนหนึ่งซึ่งมีพระอาทิตย์ขึ้นก่อนเกาะแคโรไลน์ตามเวลาท้องถิ่น 35 นาทีมันเกียรตินั้นเป็นของจุดของดินแดนบริเวณ {{coord|66|03|S|135|53|E|}} ซึ่งอยู่ระหว่างระหว่าง[[ธารน้ำแข็งดิบเบิล]] (Dibble Glacier) กับ[[อ่าววิกตอร์]] (Victor Bay) ในบนชายฝั่ง[[ทวีปแอนตาร์กติกา|ทวีปแอนตาร์กติกาฝั่งตะวันออก]] ณ พิกัด {{coord|66|03|S|135|53|E|}} ซึ่งเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นก่อน 35 นาที<ref name="naval">{{cite web | author=U.S. Naval Observatory | year=2003 | title=First Sunrise of the New Millennium | work=Astronomical Applications Department | url=http://www.usno.navy.mil/USNO/astronomical-applications/astronomical-information-center/first-sunrise}}</ref> โดยดินแดนแห่งเนื่องจากจุดนี้อยู่ใกล้กับ[[วงกลมอาร์กติกแอนตาร์กติก]] และมีปรากฏการณ์พื้นที่ที่อยู่เลยวงกลมแอนตาร์กติกได้รับผลจาก[[ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน|แสงอาทิตย์ตลอดเวลา]]ตลอดทั้งในเดือนธันวาคม แต่ถึงอย่างนั้นก็มีคำถามเกี่ยวกับนิยามของจุดรุ่งอรุณแรกที่แน่นอนเพราะว่าดินแดนแห่งนี้นั้นพอแน่ชัดจึงเป็นปัญหาการแยกแยะระหว่างดวงอาทิตย์ตกแล้วก็และดวงอาทิตย์ขึ้นใหม่ทันทีอันเป็นในมุมมองของผลมาจากการหักเหในชั้นบรรยากาศ
 
=== ศตวรรษที่ 21 และอนาคต ===