ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thucydides49 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขบางส่วน
บรรทัด 67:
}}
 
'''สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์''' ({{lang-en| United Kingdom of Great Britain and Ireland}}) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของ[[สหราชอาณาจักร]] ในช่วงตั้งแต่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2343]] (ค.ศ. 1801) <ref name=BE>1 มกราคม ค.ศ. 1801 คิดตามการเปลี่ยนพุทธศักราชในเดือนเมษายน ดูเพิ่มที่''[[พุทธศักราช]]''</ref> ถึง [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2470]] โดย[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่]]และ[[ราชอาณาจักรไอร์แลนด์]]เข้ารวมตัวกัน หลังจากที่[[สาธารณรัฐไอร์แลนด์|ส่วนหนึ่งของไอร์แลนด์]]แยกตัวออกมาตั้งเป็นรัฐอิสระในปี [[พ.ศ. 2465]] (ค.ศ. 1922) ชื่อนี้ยังคงใช้ไปจนกระทั่งเปลี่ยนเป็น ''[[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ]]''
 
== สงครามนโปเลียน ==
[[วิลเลียม พิตต์ ผู้เยาว์]] (William Pitt the Younger) เสนอนโยบายผ่อนปรนพวกคาทอลิก (Catholic Emancipation) ที่ถูกกดขี่ในอังกฤษมานาน แต่[[พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งบริเตนใหญ่|พระเจ้าจอร์จที่ 3]] ทรงปฏิเสธเพราะจะทำให้ทรงเสียคำสัตย์ที่ให้ไว้ตอนครองราชย์ว่าจะรักษา[[นิกายแองกลิกัน]] วิลเลียมพิตต์จึงลาออกและให้[[เฮนรี แอดดิงตัน]] (Henry Addington) เป็นนายกฯนายกรัฐมนตรีแทน ใน[[ค.ศ. 1804]] [[นโปเลียน]]ปราบดาภิเษกตนเองเป็นจักรพรรดิ บรรดาชาติต่างๆต่าง ๆ ในยุโรปจึงรวมตัวกันเป็น[[สัมพันธมิตรครั้งที่ 3สาม]] (Third Coalition) นโปเลียนพยายามจะบุกสหราชอาณาจักรทางทะเล แต่อังกฤษนั้นบัดนี้เป็นเจ้าแห่งทะเลไปแล้ว ตีทัพเรือฝรั่งเศสและสเปนแตกยับที่แหลม[[ทราฟัลการ์ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์|ตราฟัลการ์]] (Trafalgar) โดยการนำของ[[โฮราชิโอ เนลสัน ไวเคานต์เนลสันที่ 1|ลอร์ดเนลสัน]] (Lord Nelson) แต่ชาติอื่นนั้นไม่ได้ประสบความสำเร็จเหมือนสหราชอาณาจักร สัมพันธมิตรจึงสลายตัวใน[[ค.ศ. 1805]]
 
วิลเลียมพิตต์เสียชีวิตใน[[ค.ศ. 1806]] [[จอร์จ เกรนวิลล์]] (George Grenville) กลับมาเป็นนายกฯ นายกรัฐมนตรีและได้ฟอกซ์ (Charles James Fox) กลับเข้าคณะรัฐมนตรี ซึ่งทั้งคู่ล้วนเป็นพระศัตรูเก่าของพระเจ้าจอร์จ เกรนวิลล์เสนอให้ผ่อนปรนพวกคาทอลิกอีกครั้ง คราวนี้พระเจ้าจอร์จทรงต่อต้านอย่างรุนแรง ถึงกับบังคับให้เกรนวิลล์สาบานว่าจะไม่เสนออะไรแบบนี้ออกมาอีก ซึ่งเกรนวิลล์ก็ไม่ยอม
 
== สมัยผู้สำเร็จราชการแทน (ค.ศ. 1811 ถึง ค.ศ. 1837) ==
{{main|สมัยผู้สำเร็จราชการแทนในอังกฤษ}}
อาการทางพระสติของพระเจ้าจอร์จย่ำแย่มากใน[[ค.ศ. 1811]] จนรัฐสภาออก[[พระราชบัญญัติผู้สำเร็จราชการแทน]] (Act of Regency) ให้เจ้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales) พระโอรสเป็นผู้สำเร็จราชการแทน เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงทรงเสนอนโยบายผ่อนปรนพวกคาทอลิก ซึ่งพวก[[โทรี]] (Tories) และนายกรัฐมนตรี[[สเปนเซอร์ เพอร์ชีวัล|เพอร์ชีวัลเพอร์ซิวัล]] (Spencer Perceval) ต่อต้านอยู่แล้ว เจ้าชายทรงพยายามจะหันหาพวก[[วิก]] (Whigs) ซึ่งตอนนี้ไร้ซึ่งอำนาจ แต่[[ค.ศ. 1812]] เพอร์ชีวัลเพอร์ซิวัลถูกลอบสังหาร นายกฯนายกรัฐมนตรีคนใหม่คือ[[รอเบิร์ต เจ็นคินสัน เอิร์ลที่ 2 แห่งลิเวอร์พูล|เอิร์ลแห่งลิเวอร์พูล]] นำสหราชอาณาจักรได้ชัยชนะในการทำสงครามกับนโปเลียน ใน[[ค.ศ. 1814]] [[การประชุมใหญ่แห่งเวียนนา]]ได้เลื่อนพระยศพระเจ้าจอร์จจากอิเล็กเตอร์แห่งฮันโนเฟอร์เป็นกษัตริย์แห่งฮันโนเฟอร์ (King of Hannover) ซึ่งพระเจ้าจอร์จก็ทรงไม่อาจจะรับรู้อะไรได้แล้ว
 
[[สหรัฐอเมริกา]]แม้จะเป็นเอกราชไปแล้วแต่ก็ค้าขายกับฝรั่งเศสทำให้นโปเลียนมีรายได้ รวมทั้งยังรุกรานแคนาดาของสหราชอาณาจักรอีกด้วย จึงเกิด[[สงคราม ค.ศ. 1812]] (War of 1812) แต่ก็สิ้นสุดลงใน[[ค.ศ. 1815]] และปีเดียวกันนโปเลียนก็กลับมาแต่ก็พ่ายแพ้[[ดยุกแห่งเวลลิงตัน]]ในสมรภูมิวอเตอร์ลู
 
สมัยผู้สำเร็จราชการแทน หรือ สมัยรีเจนซี (Regency) เป็นสมัยที่อังกฤษใช้ชีวิตอย่างหรูหราฟุ่มเฟือย มีรูปแบบเป็นของตน เจ้าชายแห่งเวลส์ทรงให้จอห์น แนช (John Nash) สร้าง Regent's Park และ Regency Street รวมทั้ง Brighton Pavilion โดยผสมผสานสถาปัตยกรรมอินเดียจากทัชมาฮาล และของจีน เรียกว่า Indian Gothic
บรรทัด 90:
แม้ในตอนแรกพระเจ้าจอร์จจะทรงสนับสนุนการผ่อนปรนพวกคาทอลิก แต่หลังจากขึ้นครองราชย์แล้วก็มีพระดำริกลับกัน คือทรงต่อต้านพวกคาทอลิก เพราะตามคำปฏิญาณในพิธีราชาภิเษกทรงสัญญาว่าจะรักษานิกายโปรเตสแตนต์ รวมทั้งลอร์ดลิเวอร์พูลที่ต่อต้านคาทอลิกอย่างแรก ทำให้นโยบายนี้ดูจะเป็นไปไม่ได้
 
แต่ใน[[ค.ศ. 1827]] ลอร์ดลิเวอร์พูลลาออก [[จอร์จ แคนนิง]] (George Canning) พวกโทรีที่สนับสนุนคาทอลิก ได้เป็นนายกฯนายกรัฐมนตรีและพลักดันผลักดันนโยบายนี้อีกครั้ง ทำให้พวกโทรีคนอื่นๆอื่น ๆ โดยเฉพาะดยุกแห่งเวลลิงตันไม่พอใจ จึงหันไปเข้าพวกวิก แต่แคนนิงก็เสียชีวิตปีเดียวกัน [[Viscount Goderich|ไวเคานต์ก๊อดริช]] ใน[[ค.ศ. 1828]] ดยุกแห่งเวลลิงตันได้เป็นนายกรัฐมนตรี และเริ่มมีความคิดหันไปสนับสนุนคาทอลิก พระเจ้าจอร์จก็เช่นกัน จนทั้งสองคนออก[[พระราชบัญญัติผ่อนปรนคาทอลิก]] (Catholic Relief Act) ปลดปล่อยชาวคาทอลิกที่ถูกลิดรอนสิทธิต่างๆต่าง ๆ มานาน 300 กว่าปี
 
=== พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ===
{{main|วิกฤตการวิกฤตการณ์ปฏิรูป}}
พระเจ้าจอร์จที่ 4 สิ้นพระชนม์ใน[[ค.ศ. 1830]] โดยทรงไม่มีทายาทในสมรส (ทรงมีโอรสนอกสมรส) พระอนุชาดยุกแห่งคลาเรนซ์ (Duke of Clarence) พระชนมายุ 64 พรรษา จึงขึ้นครองราชย์เป็น[[พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร|พระเจ้าวิลเลียมที่ 4]] ผิดกับพระเชษฐา พระเจ้าวิลเลียมทรงมัธยัสถ์ ไม่หรูหราฟุ่มเฟือย และยังทรงเป็นทหารเรืออีกด้วย จึงได้รับพระสมยานามว่า กษัตริย์กะลาสี (The Sailor King) การเลือกตั้งปรากฏพวกวิกที่หายไปนานก็กลับเข้าสู่รัฐสภา มีนายกรัฐมนตรี[[ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2|เอิร์ลเกรย์]]เป็นผู้นำ เกรย์วางแผนที่จะปฏิรูประบอบการปกครองของอังกฤษที่ล้าหลังและไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลยหลายร้อยปี จึงเสนอร่างพระราชบัญญัติปฏิรูป (Reform Bill) ซึ่งก็ถูกค้านโดย[[สภาสามัญชน]] เอิร์ลเกรย์จึงจะยุบสภาสามัญ และเลือกตั้งใหม่ใน[[ค.ศ. 1831]] จนได้พวกปฏิรูปเข้าสภามามาก แต่[[สภาขุนนาง]]ก็ยังคงต่อต้านร่างพระราชบัญญัติอยู่ดี
ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2|เอิร์ลเกรย์]]เป็นผู้นำ เกรย์วางแผนที่จะปฏิรูประบอบการปกครองของอังกฤษที่ล้าหลังและไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลยหลายร้อยปี จึงเสนอร่างพระราชบัญญัติปฏิรูป (Reform Bill) ซึ่งก็ถูกค้านโดย[[สภาสามัญชน]] เอิร์ลเกรย์จึงจะยุบสภาสามัญ และเลือกตั้งใหม่ใน[[ค.ศ. 1831]] จนได้พวกปฏิรูปเข้าสภามามาก แต่[[สภาขุนนาง]]ก็ยังคงต่อต้านร่างพระราชบัญญัติอยู่ดี
 
เกรย์เสนอร่างพระราชบัญญัติปฏิรูปอีกครั้ง แต่ก็ตกไปด้วยการออกเสียงของสภาขุนนาง คราวนี้ประชาชนลุกฮือเรียกร้องให้ออกพระราชกฤษฎีกา เรียกว่า '''วิกฤตการวิกฤตการณ์ปฏิรูป''' (Reform Crisis) เกรย์เสนอให้พระเจ้าวิลเลียมพระราชทานบรรดาศักดิ์ให้แก่พวกที่สนับสนุนการปฏิรูปเพื่อจะให้ไปออกเสียงในสภาขุนนาง แต่พระเจ้าวิลเลียมทรงปฏิเสธเพราะบรรดาศักดิ์จะพระราชทานให้ใครพร่ำเพร่อมิได้ ทำให้พระเจ้าวิลเลียมทรงเป็นที่ตำหนิของประชาชน ทรงถึงขนาดถูกปาโคลนใส่ จนทรงยอมเอิร์ล เกรย์และแต่งตั้งขุนนางใหม่จนไปออกเสียงสนับสนุน[[พระราชบัญญัติปฏิรูป]] (Reform Act) จนสำเร็จใน[[ค.ศ. 1821]]
 
== สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ==